การเขียนรายงานการทดลอง สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาคการศึกษา 1/2555 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
รายงานการทดลองทางวิศวกรรม ฝึกทักษะในการเขียนรายงาน เพื่อบอกให้ผู้อื่นได้ทราบในสิ่งที่ได้ทดลองลงไป
รายงานการทดลองประกอบด้วย (Full Report) 9. ผลการทดลอง (Presentation and Discussion of Results) 10. บทสรุปและข้อแนะนำ (Conclusions and Recommendation) 11. เอกสารอ้างอิง (Reference and Bibliography) 12. ภาคผนวก (Appendix) เครื่องมือทดลอง (Test Apparatus) ตัวอย่างการคำนวณ (Sample Calculation) ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง (Raw Data) 1.ชื่อการทดลอง (Title) 2.สารบัญ (Table of Contents) 3.สารบัญรูปภาพและตาราง (List of Figures and Tables) 4.สัญลักษณ์ (Definition of Symbol) 5.จุดประสงค์ (Objective) 6.สรุปผลการทดลอง (Summery of Results) 7.อุปกรณ์ทดสอบ (Equipment Test) 8. วิธีการทดลอง (Test Method)
รายงานการทดลองประกอบด้วย (Short Report) ชื่อการทดลอง (Title) จุดประสงค์ (Objective) สรุปผลการทดลอง (Summery of Results) ผลการทดลอง (Presentation and Discussion of Results) บทสรุปและข้อแนะนำ (Conclusions and Recommendation)
1 ชื่อการทดลอง จะทำให้ผู้อ่านนั้น เกิดความต้องการที่จะอ่านรายงานฉบับนั้น ควรจะสามารถบอกถึงจุดมุ่งหมายหลักของรายงานได
2 สารบัญ / 3. สารบัญภาพและตาราง ควรจะสามารถบอกถึงตำแหน่งของหัวข้อสำคัญ ตาราง และ รูปภาพ ของรายงานได้อย่างชัดเจน ไม่ควรแบ่งหัวข้อแยกย่อยลงไปมากนัก เช่นหัวข้อที่ 2.3.2.5.2
4. ตารางสัญลักษณ์ ในงานวิศวกรรมมีการใช่สัญลักษณ์ค่อนข้างมาก จึงควรระบุว่าสัญลักษณ์ดังกล่าวคืออะไร และควรระบุหน่วยด้วย
5 จุดประสงค์ จะบอกให้ผู้อ่านเข้าใจว่า “ขณะนี้เรากำลังต้องการที่จะทำ สิ่งใดให้บรรลุ ” ต้องมีทั้งความกระจ่างชัดและความกระชับในตัวของมันเอง จุดประสงค์ เพื่อหาค่า Elastic Modulus ของชิ้นงานทดสอบ เพื่อเปรียบเทียบลักษณะความเสียหายของชิ้นงานทดสอบ
6 สรุปผลการทดลอง (Summary of Results) เป็นการสรุปตามวัตถุประสงค์ ชัดเจน กระชับ ไม่ลงในรายละเอียด สรุปผลการทดลอง ค่า Elastic Modulus ของชิ้นงานทดสอบที่ 1 เท่ากับ 150 GPa และชิ้นที่ 2 เท่ากับ 210 GPa ชิ้นงานทดสอบที่ 1เกิดความเสียหายแบบวัสดุเปราะ ส่วนชิ้นงานที่ 2 เกิดความเสียหายแบบวัสดุเหนียว
7 อุปกรณ์การทดลอง (Equipments) คือ Equipment tested ระวังสับสนกับ “เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง” (apparatus) เช่นทดสอบดึงเหล็ก ชิ้นงานเหล็กคือ อุปกรณ์การทดลอง ระบุในหัวข้อนี้ เครื่องมือดึงเหล็กรวมถึงเครื่องวัดต่างๆ คือ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ให้ใส่ไว้ในภาคผนวก
8 ขั้นตอนการทดลอง ระบุลำดับขั้นตอนของการทดลองนั้นเป็นอย่างไรตามความเป็นจริง เพราะถ้าผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามคาด ผู้อ่านจะได้กลับมาพิจารณาในส่วนนี้ได้ ถ้าเป็นขั้นตอนมาตรฐาน ควรระบุมาตรฐานที่ใช้ ถ้ามีหลายวิธี ควรระบุว่าทำไมจึงเลือกวิธีนี้
9 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ เสนอผลการทดลองโดยและเอียด ใส่ข้อคิดเห็นและข้อวิจารณ์ เสนอผลในรูป ตาราง กราฟ และ ข้อความ มีการวิเคราะห์ทางสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทุกตาราง แผนภูมิ และแผนภาพต้องมีคำอธิบายว่า ตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพแสดงอะไร ผู้เขียนเห็นอะไร
9 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ เสนอผลการทดลองโดยและเอียด ใส่ข้อคิดเห็นและข้อวิจารณ์อธิบายผล เทียบเคียงกับทฤษฎี อธิบายเหตุผล ความเป็นไปได้ เกี่ยวกับผลที่ได้มา เปรียบเทียบผลที่ได้กับงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
10 บทสรุปและข้อแนะนำ (Conclusions and Recommendation) บทสรุป (Conclusions) ระวังสับสนกับสรุปผลการทดลอง (Summary) กล่าวถึงทุกสิ่งที่ เกี่ยวข้องกับการทดลอง อาจจะสรุปจากหลักทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ที่ผ่านมาหรือแม้แต่ข้อคิดส่วนตัว สามารถเสนอแนะได้ว่าผลที่ได้ ยอมรับได้หรือไม่ เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการทดลองได้
11 เอกสารอ้างอิง อ้างอิงถึงเอกสารที่เกี่ยวข้อง เมื่อมีการอ้างถึงทฤษฎีหรือการทดลองของบุคคลอื่นให้ อ้างอิงถึงบุคคลนั้นๆด้วย
12 ภาคผนวก เครื่องมือทดลอง ตัวอย่างการคำนวณ ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง
ข้อตกลงร่วมกันในการทำปฏิบัติการ แต่งกายเรียบร้อย ชุดปฏิบัติการ ติดกระดุมเรียบร้อย รองเท้าหุ้มส้น รวบผมให้เรียบร้อย เพื่อความปลอดภัย เข้าเรียนตรงเวลา สาย 15 นาที ถือว่าขาดเรียนในวันนั้น ต้องมีเอกสาร Lab + เครื่องคิดเลข ผ้าขี้ริ้ว 1 ผืน Quiz ปากเปล่า ส่งรายงานภายใน 3 วัน ที่ผู้สอนปฏิบัติการโดยตรง แนบจดหมายนำส่ง รับฟังการสรุปงาน ก่อนเริ่มปฏิบัติการต่อไป
รูปแบบการให้คะแนน (รายละเอียด บน Website) คะแนนปฏิบัติการ 80% : สอบปลายภาค 20% ต่ำกว่า 50 = F, มากกว่า 80 = A 51 - 79 = D - B+