Engineering Graphics II [WEEK4]

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
Advertisements

น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การทำกราวด์(Grounding)
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
การเขียนผังงาน.
หินแปร (Metamorphic rocks)
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
โดยการใช้ Layer และ Timeline
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
ภาษา SQL (Structured Query Language)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
Engineering Graphics II [WEEK5]
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
การวางแผนและการดำเนินงาน
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
กาแล็กซีและเอกภพ.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
เตาไฟฟ้า.
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Magnetic Particle Testing
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กล้องโทรทรรศน์.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
การหักเหของแสง (Refraction)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานเรื่อง มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพช่างอุตสาหการสาขาช่างเชื่อมฟลักซ์คอร์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 21.
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Engineering Graphics II [WEEK4] การเชื่อม งานเชื่อมใน Solid Work

การเชื่อม (Welding)

การเชื่อม การเชื่อมมีวัตถุประสงค์เพื่อ “ยึดต่อชิ้นงานอย่างถาวร” การเชื่อมโลหะที่พบได้โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทใหญ่ๆ 1. การเชื่อมแก็ส (Gas Welding) 2. การเชื่อมไฟฟ้า (Arc Welding) 3. การเชื่อมอัด (Press Welding, Resistance Welding) 4. การเชื่อม TIG (Tungsten Inert Gas Welding)

การเชื่อม 5. การเชื่อม MIG (Metal Inert Gas Welding) 6. การเชื่อมใต้ฟลักซ์ (Submerged Arc Welding)

การเชื่อมแก็ส การเชื่อมแก็สอาศัยความร้อนจากการเผาไหม้ระหว่างแก็สเชื้อเพลิงอะเซทิลีนกับออกซิเจน หลอมละลายโลหะให้ติดกันด้วยการเติมลวดเชื่อม (Filler Metal or Welding rod) หรืออาจให้เนื้อโลหะหลอมละลายติดกันเองโดยไม่เติมลวดเชื่อมก็ได้

การเชื่อมไฟฟ้า การเชื่อมไฟฟ้าหรืออาจเรียกว่าการเชื่อมอาร์ค (Arc Welding) เกิดจากการนำความร้อนที่ใช้ในการเชื่อมจากการเกิดประกายอาร์คระหว่างชิ้นงานและลวดเชื่อม จะทำให้ลวดเชื่อมหลอมละลายเสมือนเป็นการป้อนเนื้อโลหะให้แก่รอยเชื่อม

การเชื่อมอัด การเชื่อมอัดเป็นการอาศัยความร้อนจากความต้านทานไฟฟ้าและอัดให้ชิ้นงานติดกัน เนื่องจากหลักการเชื่อมนี้ทำให้มีชื่อเรียกหลายชื่อคือ Press Welding, Resistance Welding, Spot Welding เป็นต้น

การเชื่อม TIG การเชื่อม TIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดทังสเตนกับชิ้นงานเชื่อม โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทำปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม

การเชื่อม MIG การเชื่อม MIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อมกับชิ้นงาน ลวดเชื่อมที่ใช้เป็นโลหะเปลือยที่ส่งป้อนอย่างต่อเนื่อง โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทำปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม

การเชื่อมใต้ฟลักซ์ การเชื่อมใต้ฟลักซ์จะอาศัยความร้อนจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อมเปลือยกับชิ้นงาน โดยมีฟลักซ์ชนิดเม็ด (Granular Flux) ปกคลุมบริเวณอาร์ค ฟลักซ์ชนิดเม็ดที่อยู่ใกล้รอยเชื่อมจะหลอมละลายปกคลุมบริเวณที่ทำการเชื่อมเพื่อป้องกันอากาศภายนอกทำปฏิกริยา

สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม ลูกศร : ชี้บ่งตำแหน่งของรอยเชื่อม : สัญลักษณ์ให้ทำการเชื่อม ณ ที่ใช้งานจริง : ใช้บ่งบอกว่าเป็นแนวเชื่อมรอบชิ้นงาน

สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม F __ A T ข้อกำหนดอื่นใดๆที่ต้องการบ่งชี้ F = วิธีการแต่งผิว __ = contour ของรอยเชื่อม A = Groove angle R = Root opening { } = สัญลักษณ์พื้นฐานของรอยเชื่อม N = Number of spot T N R Groove angle contour

สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม L = ความยาวของรอยเชื่อม P = ระยะ pitch ของรอยเชื่อม (วัดจากศูนย์กลางรอยเชื่อม จนถึงศูนย์กลางรอยเชื่อมของรอยเชื่อมถัดไป) S = ขนาด Leg size T F __ A N S L-P แนวเชื่อม reinforcement Leg size (S) Throat

สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม

การเชื่อมมุม (Fillet Welding) 5 mm คือ Leg size(S) ของรอยเชื่อม 60 mm คือ ความยาวของรอยเชื่อม(L) 200 mm คือ ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางของรอยเชื่อม(P)

การเชื่อมมุม (Fillet Welding)

การเชื่อมมุม (Fillet Welding) แสดงการเชื่อมเป็นวงรอบชิ้นงาน

การเชื่อมมุม (Fillet Welding) ด้านล่างเส้น (Arrow side) : แสดงลักษณะการเชื่อมด้านที่ลูกศรชี้ ด้านบนเส้น (Other side) : แสดงลักษณะการเชื่อมด้านที่อยู่ตรงข้ามลูกศรชี้

การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld) แสดงสัญลักษณ์บ่งการเชื่อมร่องรางแบบต่างๆ (a) Square butt weld (b) Single V butt weld (c) Double V butt weld (d) Single bevel

การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld) (a) T joint (b) U and J weld (c) Corner weld (d) Edge weld

การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)

การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)

ข้อกำหนด < T

โปรแกรม SolidWorks การเชื่อม (Welding)

การแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบ เมื่อทำการวางภาพบนงานเขียนแบบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อเราต้องการแสดงสัญลักษณ์ของรอยเชื่อมตามหลักการข้างต้นทำได้โดยการเลือก Annotation -> Weld Symbol Weld Symbol จะขึ้นกับมาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ ในที่นี้ให้เราตั้งเป็น ANSI

การแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบ

การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน การสร้างรอยเชื่อมบนชิ้นงาน(Part) ทำได้โดยเริ่มจาก Insert -> Weldments จากนั้นทำการสร้างชิ้นงานส่วนต่างๆจนเป็นที่พอใจแล้วให้กำหนด Insert -> Weldments -> Fillet Bead

การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน

การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน