การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การศึกษารายกรณี.
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
วิธีการทางสุขศึกษา.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรคติดต่อ นำเสนอโดย คุณครูบุปผา ศิลปะ
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ธนาคารรีไซเคิล โดย ด.ญ. เกศริน วงศ์มาก.
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน .

ความสำคัญ * สุขศึกษาในชุมชน เป็น “ วิธีการหรือกระบวนการที่เป็นระบบในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มชน”

ความสำคัญ * สุขศึกษาในชุมชน เพื่อ จุดมุ่งหมายในการลดสาเหตุการเจ็บป่วย การตาย การลดปัญหาสาธารณสุข อยู่ดีกินดีปราศจากโรคภัย

ความเป็นมา * สุขศึกษาในชุมชน : -เริ่มงานด้านนี้ มาก่อนแผนพัฒนาการสาธารณสุข แต่ไม่ชัดเจน เริ่มชัดเจนในปี 2520 ควบคู่กับงานสาธารณสุขมูลฐาน

ความเป็นมา * สุขศึกษาในชุมชน- สาธารณสุขมูลฐาน -โภชนาการ - การจัดหาที่จำเป็นใช้ -การสุขศึกษา - การอนามัยแม่และเด็ก - การจัดหาน้ำสะอาด - การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม - การให้ภูมิคุ้มกันโรค - ทันตสาธารณสุข - การรักษาพยาบาลโรคง่ายๆ - ส่งเสริมสุขภาพจิต

ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน 3. การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา 4. การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านฟื้นฟูสภาพ

หลักการวินิจฉัย ในเรื่องปัญหาสุขภาพชุมชน 1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 3. การวินิจฉัยปัญหาสุขศึกษาในชุมชน

1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัย ด้านใดบ้าง 1. ด้านประชากรศาสตร์-ลักษณะประชากร การย้ายเข้า-ออก การกระจายของประชากร ขนบธรรมเนียม ประเพณี 2. ด้านเศรษฐกิจและสังคม - อาชีพ รายได้ -รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก

1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัย 3. สถิติสาธารณสุข - การเกิด ตาย การเจ็บป่วย ทุพพลภาพ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน 4. สิ่งแวดล้อม - สภาพบ้าน แหล่งน้ำดื่ม น้ำใช้ การกำจัดขยะ ของเสีย 5. ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตัว - ความรู้ทั่วไปและความรู้เฉพาะเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพ

1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัย 6. ด้านบริการสาธารณสุข - จำนวนสถานบริการ การใช้บริการ ประเภทของอาสาสมัคร ร้านขายยา และอื่น ๆ เช่น กองทุนยา สหกรณ์ยา แหล่งที่มาของข้อมูล 1. ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว - รวบรวมจากหน่วยงานอื่น 2. ข้อมูลจากการค้นหาเพิ่มเติม - การสำรวจ การตรวจร่างกาย

2. การจัดลำดับความสำคัญ 1. การกำหนดและการเลือกปัญหาสุขภาพชุมชน โดยใช้ดัชนีอามัยเป็นเครื่องบ่งชี้ปัญหาได้แก่ การเจ็บป่วย การตาย หรือพิการ ความไม่สบาย ความไม่สมหวัง ปัญหา = (สิ่งที่ควรเป็น - สิ่งที่เป็นอยู่) xความห่วงใย 2. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

2. การจัดลำดับความสำคัญ 2. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ต้องอาศัยหลักดังนี้ 1. หัวข้อการพิจารณาส่วนประกอบของปัญหา 2. การให้น้ำหนักความสำคัญของส่วนประกอบ = 100 3. การให้คะแนนส่วนประกอบ (0-4) ดังตัวอย่างต่อไปนี้

2. การจัดลำดับความสำคัญ ส่วนประกอบ A = ขนาดของปัญหา = 20 คะแนน B = ความรุนแรงของปัญหา = 20 คะแนน C = ความง่ายต่อการแก้ปัญหา = 30 คะแนน D = ความสนใจของชุมชน = 30 คะแนน

2. การจัดลำดับความสำคัญ วิธีการให้คะแนน 0-4 ขนาดของปัญหา = ไม่มีคนเจ็บป่วย 0 ความรุนแรงของปัญหา = ไม่มีความรุนแรง= 0 ความง่ายต่อการแก้ปัญหา = ไม่มีทางแก้ไข =0 ความสนใจของชุมชน = ไม่สนใจ=0

องค์ประกอบที่ใช้ร่วมพิจารณา ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา : 1. จำนวนผู้ป่วยใหม่ 2.จำนวนผู้ป่วยเก่า และใหม่ มีจำนวนสูง 3. โรคใดที่เป็นแล้วตายหรือพิการ*รุนแรง

องค์ประกอบที่ใช้ร่วมพิจารณา ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา : 4.โรคที่เป็นแล้ว ทำงานไม่ได้ 5. โรคที่ป้องกันได้ * อันดับสูงกว่าไม่ได้ 6. โรคที่รักษาและหายได้ให้ความสำคัญสูงกว่า 7. ทรัพยากรต่างๆ 8. ความร่วมมือของชุมชน

3.การวินิจฉัยปัญหา 1. ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเรื่องสุขภาพ * ด้านความรู้ . * ด้านทัศนคติ . * ด้านการปฏิบัติ .

วิธีการปฏิบัติงาน สุขศึกษาในชุมชน 1. การวางแผนงาน 2. แนวทางในการดำเนินงาน 3. กลวิธีในการดำเนินงาน

การวางแผนงานสุขศึกษาชุมชน ขั้นตอนในการวางแผน มีดังนี้ 1. การศึกษาข้อมูล- ทั้งหมด 2. การเลือกปัญหาที่สำคัญ- ปัญหาสำคัญแก้ไขง่าย 3. กำหนดวัตถุประสงค์ - วางวัตถุประสงค์เฉพาะเรื่อง ให้ชัดเจน

การวางแผนงานสุขศึกษาชุมชน 4. การวิเคราะห์ปัจจัย - พิจารณาทรัพยากรทุกอย่างที่ใช้ ในการดำเนินงาน 5. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. การร่างแผนปฏิบัติงาน / โครงการ

การวางแผนงานสุขศึกษาชุมชน 7. วิธีการดำเนินงาน - ตามแผนที่วาง 8. การประเมินผล - เป็นระยะ ๆ เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค แนวทางการแก้ไป

แนวทางในการดำเนินงาน สุขศึกษาในชุมชน 1. ขั้นเตรียมการ - ศึกษาข้อมูล สร้างความสัมพันธ์ขั้นพื้นฐาน 2. ขั้นดำเนินการ - ชุมชนมีส่วนร่วม 3. การกำกับงานและการติดตามผล - อย่างมีระบบ

กลวิธีในการดำเนินงาน 1. การเตรียมชุมชน - เจ้าหน้าที่ ประชาชน * เข้าใจ มีส่วนร่วม นัดหมาย ความคุ้นเคย จริงจัง 2. จัดกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน - กลุ่มหัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน หนุ่มสาว นักเรียน 3. การจัดกิจกรรมสุขศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย- โดยใช้วิธีการสุขศึกษา รายบุคคล กลุ่ม มวลชน

วิธีการปฏิบัติงาน สุขศึกษาในสถานประกอบการ 1. การวางแผนงาน 2. แนวทางในการดำเนินงาน 3. กลวิธีในการดำเนินงาน

คำถาม ? 1. จงบอกความสำคัญของการดำเนินงานสุขศึกษาในชุมชน 2. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชนแบ่งออกเป็นงานกี่ด้าน อะไรบ้าง 3. ข้อมูลที่ใช้ประกอบในการวินิจฉัยปัญหาชุมชนประกอบด้วยข้อมูลด้านใดบ้าง 4. จงบอกกลวิธีในการดำเนินงานสุขศึกษาในชุมชน