การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน .
ความสำคัญ * สุขศึกษาในชุมชน เป็น “ วิธีการหรือกระบวนการที่เป็นระบบในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มชน”
ความสำคัญ * สุขศึกษาในชุมชน เพื่อ จุดมุ่งหมายในการลดสาเหตุการเจ็บป่วย การตาย การลดปัญหาสาธารณสุข อยู่ดีกินดีปราศจากโรคภัย
ความเป็นมา * สุขศึกษาในชุมชน : -เริ่มงานด้านนี้ มาก่อนแผนพัฒนาการสาธารณสุข แต่ไม่ชัดเจน เริ่มชัดเจนในปี 2520 ควบคู่กับงานสาธารณสุขมูลฐาน
ความเป็นมา * สุขศึกษาในชุมชน- สาธารณสุขมูลฐาน -โภชนาการ - การจัดหาที่จำเป็นใช้ -การสุขศึกษา - การอนามัยแม่และเด็ก - การจัดหาน้ำสะอาด - การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม - การให้ภูมิคุ้มกันโรค - ทันตสาธารณสุข - การรักษาพยาบาลโรคง่ายๆ - ส่งเสริมสุขภาพจิต
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน 3. การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา 4. การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านฟื้นฟูสภาพ
หลักการวินิจฉัย ในเรื่องปัญหาสุขภาพชุมชน 1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 3. การวินิจฉัยปัญหาสุขศึกษาในชุมชน
1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัย ด้านใดบ้าง 1. ด้านประชากรศาสตร์-ลักษณะประชากร การย้ายเข้า-ออก การกระจายของประชากร ขนบธรรมเนียม ประเพณี 2. ด้านเศรษฐกิจและสังคม - อาชีพ รายได้ -รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัย 3. สถิติสาธารณสุข - การเกิด ตาย การเจ็บป่วย ทุพพลภาพ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน 4. สิ่งแวดล้อม - สภาพบ้าน แหล่งน้ำดื่ม น้ำใช้ การกำจัดขยะ ของเสีย 5. ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตัว - ความรู้ทั่วไปและความรู้เฉพาะเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพ
1. ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัย 6. ด้านบริการสาธารณสุข - จำนวนสถานบริการ การใช้บริการ ประเภทของอาสาสมัคร ร้านขายยา และอื่น ๆ เช่น กองทุนยา สหกรณ์ยา แหล่งที่มาของข้อมูล 1. ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว - รวบรวมจากหน่วยงานอื่น 2. ข้อมูลจากการค้นหาเพิ่มเติม - การสำรวจ การตรวจร่างกาย
2. การจัดลำดับความสำคัญ 1. การกำหนดและการเลือกปัญหาสุขภาพชุมชน โดยใช้ดัชนีอามัยเป็นเครื่องบ่งชี้ปัญหาได้แก่ การเจ็บป่วย การตาย หรือพิการ ความไม่สบาย ความไม่สมหวัง ปัญหา = (สิ่งที่ควรเป็น - สิ่งที่เป็นอยู่) xความห่วงใย 2. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
2. การจัดลำดับความสำคัญ 2. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ต้องอาศัยหลักดังนี้ 1. หัวข้อการพิจารณาส่วนประกอบของปัญหา 2. การให้น้ำหนักความสำคัญของส่วนประกอบ = 100 3. การให้คะแนนส่วนประกอบ (0-4) ดังตัวอย่างต่อไปนี้
2. การจัดลำดับความสำคัญ ส่วนประกอบ A = ขนาดของปัญหา = 20 คะแนน B = ความรุนแรงของปัญหา = 20 คะแนน C = ความง่ายต่อการแก้ปัญหา = 30 คะแนน D = ความสนใจของชุมชน = 30 คะแนน
2. การจัดลำดับความสำคัญ วิธีการให้คะแนน 0-4 ขนาดของปัญหา = ไม่มีคนเจ็บป่วย 0 ความรุนแรงของปัญหา = ไม่มีความรุนแรง= 0 ความง่ายต่อการแก้ปัญหา = ไม่มีทางแก้ไข =0 ความสนใจของชุมชน = ไม่สนใจ=0
องค์ประกอบที่ใช้ร่วมพิจารณา ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา : 1. จำนวนผู้ป่วยใหม่ 2.จำนวนผู้ป่วยเก่า และใหม่ มีจำนวนสูง 3. โรคใดที่เป็นแล้วตายหรือพิการ*รุนแรง
องค์ประกอบที่ใช้ร่วมพิจารณา ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา : 4.โรคที่เป็นแล้ว ทำงานไม่ได้ 5. โรคที่ป้องกันได้ * อันดับสูงกว่าไม่ได้ 6. โรคที่รักษาและหายได้ให้ความสำคัญสูงกว่า 7. ทรัพยากรต่างๆ 8. ความร่วมมือของชุมชน
3.การวินิจฉัยปัญหา 1. ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเรื่องสุขภาพ * ด้านความรู้ . * ด้านทัศนคติ . * ด้านการปฏิบัติ .
วิธีการปฏิบัติงาน สุขศึกษาในชุมชน 1. การวางแผนงาน 2. แนวทางในการดำเนินงาน 3. กลวิธีในการดำเนินงาน
การวางแผนงานสุขศึกษาชุมชน ขั้นตอนในการวางแผน มีดังนี้ 1. การศึกษาข้อมูล- ทั้งหมด 2. การเลือกปัญหาที่สำคัญ- ปัญหาสำคัญแก้ไขง่าย 3. กำหนดวัตถุประสงค์ - วางวัตถุประสงค์เฉพาะเรื่อง ให้ชัดเจน
การวางแผนงานสุขศึกษาชุมชน 4. การวิเคราะห์ปัจจัย - พิจารณาทรัพยากรทุกอย่างที่ใช้ ในการดำเนินงาน 5. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. การร่างแผนปฏิบัติงาน / โครงการ
การวางแผนงานสุขศึกษาชุมชน 7. วิธีการดำเนินงาน - ตามแผนที่วาง 8. การประเมินผล - เป็นระยะ ๆ เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค แนวทางการแก้ไป
แนวทางในการดำเนินงาน สุขศึกษาในชุมชน 1. ขั้นเตรียมการ - ศึกษาข้อมูล สร้างความสัมพันธ์ขั้นพื้นฐาน 2. ขั้นดำเนินการ - ชุมชนมีส่วนร่วม 3. การกำกับงานและการติดตามผล - อย่างมีระบบ
กลวิธีในการดำเนินงาน 1. การเตรียมชุมชน - เจ้าหน้าที่ ประชาชน * เข้าใจ มีส่วนร่วม นัดหมาย ความคุ้นเคย จริงจัง 2. จัดกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน - กลุ่มหัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน หนุ่มสาว นักเรียน 3. การจัดกิจกรรมสุขศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย- โดยใช้วิธีการสุขศึกษา รายบุคคล กลุ่ม มวลชน
วิธีการปฏิบัติงาน สุขศึกษาในสถานประกอบการ 1. การวางแผนงาน 2. แนวทางในการดำเนินงาน 3. กลวิธีในการดำเนินงาน
คำถาม ? 1. จงบอกความสำคัญของการดำเนินงานสุขศึกษาในชุมชน 2. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชนแบ่งออกเป็นงานกี่ด้าน อะไรบ้าง 3. ข้อมูลที่ใช้ประกอบในการวินิจฉัยปัญหาชุมชนประกอบด้วยข้อมูลด้านใดบ้าง 4. จงบอกกลวิธีในการดำเนินงานสุขศึกษาในชุมชน