ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
พลังงานมีกี่ประเภท ? 1. พลังงานใช้แล้วหมดไป (Modern Energy) “พลังงานสิ้นเปลือง” หรือ “พลังงานฟอสซิล” เช่น น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ 2. พลังงานใช้ไม่หมด (Renewable Energy) “พลังงานหมุนเวียน” หรือ “พลังงานทดแทน” เช่น น้ำ แสงอาทิตย์ ลม คลื่น ชีวมวล (ไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย มูลสัตว์) ฯลฯ
ความสำคัญของพลังงาน พลังงานสำรองมีอยู่จำกัด แนวโน้มราคาพลังงานสูงขึ้นโดยตลอด การใช้พลังงานมีผลต่อสิ่งแวดล้อม
ครองแชมป์ติดต่อกัน ได้แก่ ภาคขนส่ง 37.1% รองแชมป์อันดับ 1 ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม 36.7% รองแชมป์อันดับ 2 ได้แก่ ภาคครัวเรือน 14.1%
พลังงานสำรองของโลกใช้ได้อีกกี่ปี ? สถานการณ์พลังงานของโลก พลังงานสำรองของโลกใช้ได้อีกกี่ปี ? น้ำมันใช้ได้อีกประมาณ 40 ปี (สำรอง/การใช้ต่อปี =1,188,555,694,069 Barrels/29,476,334,904 Barrels ~ 40 ปี) ก๊าซธรรมชาติใช้ได้อีกประมาณ 62 ปี ถ่านหินใช้ได้อีกประมาณ 220 ปี ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
เส้นสีแดงแสดงความต้องการใช้น้ำมันของโลก เส้นสีน้ำเงิน แสดง การผลิตพลังงาน
สถานการณ์พลังงานของไทย ประเทศไทยใช้พลังงานประมาณ 1 % ของพลังงานที่ใช้ กันทั่วโลกพลังงานที่ใช้มากที่สุดได้แก่ น้ำมัน 42 % พลังงานหมุนเวียน 26 % ก๊าซธรรมชาติ 17 % ลิกไนต์ 9 % ถ่านหินนำเข้า 3 % ซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศ 3 %
พลังงานสำรองของไทยใช้ได้อีกกี่ปี ? พลังงานสำรองของโลกใช้ได้อีกกี่ปี ? (สำรอง/การใช้ต่อปี =1,188,555,694,069 Barrels/29,476,334,904 Barrels ~ 40 ปี) น้ำมันดิบไม่พอใช้อยู่แล้ว…ต้องนำเข้า>70% น้ำมันใช้ได้อีกประมาณ 40 ปี ก๊าซธรรมชาติใช้ได้อีกประมาณ 20 ปีหมด ก๊าซธรรมชาติใช้ได้อีกประมาณ 62 ปี (สำรอง/การใช้ต่อปี =2,188,000,000 Barrels/147,131,500 Barrels ~ 20 ปี) ถ่านหินใช้ได้อีกประมาณ 60 ปี ถ่านหินใช้ได้อีกประมาณ 220 ปี ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
ราคาพลังงานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ร้อยละ 70 ประเทศไทยต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศสูงถึง ส่งผลให้ประเทศเข้าสู่วิกฤตด้านพลังงาน คนไทยจะต้องตระหนักและมีสติในการใช้พลังงาน ส่งออกสินค้าการเกษตรทั้งปี สามารถซื้อน้ำมันมาใช้ได้เพียงครึ่งปี
แนวโน้มราคาพลังงานจะสูงขึ้น องค์กรไหนไม่ปรับตัว ไม่เตรียมพร้อม จะทำงานยากขึ้น
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มขึ้นมีนัยสำคัญกับการเพิ่มของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ
ภาวะเรือนกระจกในรถยนต์ ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) เกิดได้อย่างไร ? ภาวะเรือนกระจกในรถยนต์ ภูมิอากาศของโลกเกิดจากการไหลวนของพลังงานจากดวงอาทิตย์ พลังงานนี้ส่วนใหญ่เข้ามาสู่โลกในรูปแสงแดด ประมาณร้อยละ 30 ของพลังงานที่เดินทางมาสู่โลกได้ สะท้อนกลับไปสู่ห้วงอวกาศ แต่อีกร้อยละ 70 ได้ถูกดูดซับโดยผ่านชั้นบรรยากาศลงมาให้ความอบอุ่นกับพื้นผิวโลก
Global warming : Climate change ภาวะโลกร้อน มีผลกระทบต่อฤดูกาลของโลก Global warming : Climate change
ผลกระทบต่อเนื่อง การใช้พลังงานอย่างมาก การตัดไม้ทำลายป่า ภาวะโลกร้อน การเพิ่มปริมาณ CO2 ในชั้นบรรยากาศ สิ้นเปลืองการนำเข้าน้ำมัน การเพิ่มก๊าซเรือนกระจก การเก็งกำไร เสียเงินตราต่างประเทศ ภาวะสงคราม ปริมาณน้อยลง ภาวะโลกร้อน ขาดดุลย์การค้า ราคาน้ำมันสูงขึ้น น้ำแข็งในทะเลละลาย น้ำแข็งในที่สูงละลาย ประเทศยากจนลง น้ำในทะเลดูดความร้อน น้ำในทะเลร้อนขึ้น ระดับน้ำ ทะเลสูงขึ้น ปัญหาการผลิตและการจ้างงาน เสียความหลากหลายทางชีวภาพ กระแสน้ำร้อน/น้ำเย็นเปลี่ยนแปลง แผ่นดิน ร้อนขึ้น น้ำท่วมชายฝั่งทวีป ราคาไฟฟ้า/น้ำมัน/เชื้อเพลิง สูงขึ้น ลมแรง/พายุ การกัดเซาะชายฝั่ง โรคระบาด ฤดูการเปลี่ยนแปลง และรุนแรง อาหารและสินค้า แพงขึ้น น้ำท่วม ขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค/บริโภค เอลนินโย/ลานินย่า ไฟป่า ฝนแล้ง