การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
Advertisements

WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
การเลือกใช้คำและกลุ่มคำในการสื่อสาร
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมและการชน.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
วงจรสี.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
การสะท้อนและการหักเหของแสง
Basic wave theory.
Ultrasonic sensor.
ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เทคนิคการวิจัยภาคสนาม
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
เรียนรู้เทคนิคอ่านไว
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
ดาวพุธ (Mercury).
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เลือกใช้เครื่องมือตัดได้ถูกต้อง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การทัศนศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน การหักเหของแสง การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน

เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านวัตถุต่างชนิดกัน

นำดินสอใส่ลงในแก้วเปล่า แล้วมองแท่งดินสอในแนวต่างๆ กัน (ตำแหน่งของตาอยู่เหนือถ้วย) สังเกตลักษณะที่เห็น จากนั้นนำดินสอใส่ในแก้วที่บรรจุน้ำ สังเกตลักษณะที่เห็น และลองทำซ้ำโดยเปลี่ยนจากดินสอเป็นหลอดนม สังเกตลักษณะที่เห็นเช่นกัน

เมื่อแสงผ่านวัตถุต่างกัน แสงจะเบนไปจากแนวเดิมตรงผิวรอยต่อของน้ำและอากาศ เรียกแสงที่เบนไปจากแนวเดิมนี้ว่า รังสีหักเห

การที่เราเห็นวัตถุได้ เพราะแสงจากวัตถุมาเข้าตาเรา แสงจากวัตถุในน้ำที่มาเข้าตาเรา มีการเบนไปเมื่อผ่านจากน้ำออกสู่อากาศ

การหักเหของแสง จะเกิดเมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นต่างกันจะเกิดการหักเหไปจากแนวเดิม ตรงรอยต่อระหว่างผิวของวัตถุทั้ง ๒ ชนิด

ภาพการหักเหของแสงผ่านตัวกลาง อากาศ น้ำ

การหักเหของแสงจะเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก หรือเบนออกจากเส้นแนวฉากนั้น ขึ้นอยู่กับวัตถุที่แสงเดินทางผ่าน

(1.) ถ้าแสงเดินทางจากวัตถุที่แสงมีความเร็วมากกว่า ไปยังวัตถุที่แสงมีความเร็วน้อยกว่า เช่น จากน้ำไปสู่แก้ว จากอากาศไปสู่น้ำ หรือ จากน้ำไปสู่พลาสติก ลำแสงจะเบนเข้าหาเส้นแนวฉาก

(2.) ถ้าแสงเดินทางจากวัตถุที่แสงมีความเร็วน้อยกว่า ไปยังวัตถุที่แสงมีความเร็วมากกว่า เช่น จากแก้วไปสู่น้ำ จากน้ำไปสู่อากาศ หรือ จากพลาสติกไปสู่อากาศ ลำแสงจะเบนออกจากเส้นแนวฉาก ดังภาพที่ ๒

ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสง (๑) การมองเห็นวัตถุที่อยู่ในน้ำหักงอ เช่น เห็นหลอดหรือช้อนที่อยู่ในแก้วซึ่งมีน้ำอยู่มีลักษณะหักงอผิดความจริง (๒) การมองเห็นสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในน้ำอยู่ตื้นกว่าความเป็นจริง เช่นเวลามองปลาที่อยู่ในน้ำ จะมองเห็นว่าปลาอยู่ตื้นกว่าความเป็นจริง (๓) เมื่อมองวัตถุผ่านน้ำไปยังอากาศ จะเห็นวัตถุอยู่ไกลกว่าความเป็นจริง