เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด (Effect of music therapy on anxiety and pain in cancer patients) ชื่อผู้วิจัย.
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบการสอน อาจารย์ดร.ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
Graphical Methods for Describing Data
(Sensitivity Analysis)
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การออกแบบการวิจัย.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
Basic Statistical Tools
Basic Statistical Tools
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า

การทดสอบสมมุติฐาน Hypothesis Testing.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงข้อมูล (Transformation) การทดลองโดยทั่วไปมุ่งศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างTreatment ที่ให้กับหน่วยทดลอง ว่ามีอิทธิพลแตกต่างกันหรือไม่ ในการศึกษาเพื่อทดสอบค่าเฉลี่ยประชากรของแต่ละทรีทเมนต์มีค่าเท่ากันหรือไม่หรือทดสอบอิทธิพลของทรีทเมนต์มีนัยสำคัญหรือไม่นั้น Transformation

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงข้อมูล (Transformation) มีข้อตกลงเบื้องต้น (Assumption) คือ ความคลาดเคลื่อนสุ่มมา จากประชากรเดียวกันที่มีการแจกแจงแบบปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยศูนย์และความแปรปรวนเท่ากันในทุกทรีทเมนต์และแต่ละตัวก็เป็นอิสระซึ่งกันและกัน หากพบว่าข้อมูลไม่เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นและทดสอบด้วยวิธีการทางสถิติ จะทำให้ประสิทธิภาพของการทดสอบลดลง นำไปสู่การสรุปผลการวิเคราะห์ที่ผิดพลาดและขาดความน่าเชื่อถือ Transformation

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงข้อมูล (Transformation) วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ข้อมูลมีการ แจกแจงแบบไม่ปกติและความแปรปรวนมีค่าไม่เท่ากัน คือ การแปลงข้อมูล (Data Transformation) โดยใช้วิธีการทางสถิติ(Statistical Methods) การแปลงข้อมูล หมายถึง การเปลี่ยนสภาพของข้อมูลที่ศึกษาให้มีการแจกแจงแบบปกติหรือทำให้ความแปรปรวนมีค่าเท่ากัน เนื่องจากข้อตกลงเบื้องต้นของการทดสอบสถิติบางตัวได้กำหนดไว้ เช่น การทดสอบค่าเฉลี่ย การทดสอบความแปรปรวน (Analysis of Variance) การวิเคราะห์การถดถอย(Regression Analysis) เป็นต้น Transformation

เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงข้อมูล (Transformation) ใช้เพื่อแปลงข้อมูลให้เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น ข้อมูลที่ต้องแปลงค่าก่อนการวิเคราะห์ เช่น ตายกับไม่ตาย ข้อมูลที่เป็นสัดส่วน หรือ เปอร์เซ็นต์ ข้อมูลเกี่ยวกับการให้คะแนน ข้อมูลที่มีค่าน้อยมากๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มักมีการกระจายตัวไม่ปกติ การแปลงข้อมูลมีวัตถุประสงค์ ให้ข้อมูลที่แปลงแล้วมีการกระจายแบบปกติ ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนที่แปลงแล้ว เป็นอิสระต่อกัน Transformation

การแปลงโดยใช้ Square root สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงโดยใช้ Square root จะใช้กับข้อมูลที่มีค่าสังเกตมีค่าต่ำมาก เช่น จำนวนโคโลนีของแบคทีเรีย ข้อมูลมักมีการกระจายตัวแบบ พัวซอง (Poisson distribution) ซึ่งมีค่าความแปรปรวนเท่ากับค่าเฉลี่ย แก้ไขให้กระจายตัวปกติ และ ให้ความแปรปรวนเป็นอิสระกับค่าเฉลี่ย ได้ ข้อมูลที่มีค่าต่ำ ควรใช้ 𝒙 ข้อมูลที่มีค่าต่ำมาก ควรใช้ 𝒙+𝟏 หรือ 𝒙 + 𝒙+𝟏

การแปลงเป็นค่า Logarithmic สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงเป็นค่า Logarithmic เป็นวิธีการแปลงข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ใช้ในกรณีที่ ความแปรปรวนมีค่าเป็นสัดส่วนกับค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ ผลจากการแปลง ทำให้ทุกทรีทเมนต์มีความแปรปรวนเท่ากัน ข้อมูลที่มีค่า ลบ ไม่สามารถที่จะแปลงข้อมูลโดยวิธีนี้ได้ กรณีที่ข้อมูลที่มีค่า 0 ให้ใช้ log (x+1) Log ฐาน 10 จะง่ายที่สุดสำหรับการแปลงข้อมูล

การแปลงโดยใช้ Arcsine สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การแปลงโดยใช้ Arcsine จะใช้กับข้อมูลที่มีการนับเป็นเปอร์เซ็นต์ หรือสัดส่วนของตัวอย่างทั้งหมด ข้อมูลที่มีการกระจายตัวแบบ binomial distribution มากกว่าแบบปกติ เป็นการวัดหามุมองศา ซึ่งมีค่า sine เป็นรากที่สองของสัดส่วน =arcsine 𝒙 หรือ sine-1 𝒙 มีตารางแสดงค่ามุมวัดเป็นองศาที่แปลงมาจากข้อมูลเดิมที่เป็นเปอร์เซ็นต์