การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
ให้นักเรียนคลิกเลือกคำตอบที่คิดว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
Wireless Local Loop (WLL)
(Global Positioning System)
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
Mahidol Witthayanusorn School
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ราคา ถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ จำกัด ความเร็ว ในกรณีเป็นสาย แบบไม่มีชีลด์ ก็ จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล Satellite Transmission
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Introduction to Network
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล (Computer Network And Data Communication) คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิดเกลียวข้อเสีย ราคาถูก ง่ายต่อการนำไปใช้ ข้อดี ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน จำกัดความเร็ว สายโคแอกเชียลข้อดี เชื่อมต่อได้ใน.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้ 1. หัวเชื่วมต่อแบบ ST ผลิตขึ้นโดยบริษัท AT&T สำหรับสายใยแก้วประเภท Multi Mode Step Index และ Graded Index Multi Mode 1

2. หัวเชื่วมต่อแบบ FC/PC นิยมใช้สำหรับสายใยแก้วประเภท Single Mode 3. หัวเชื่วมต่อแบบ SC นิยมใช้ในปัจจุบัน 2

4. หัวเชื่วมต่อแบบ SMF มีขนาดเล็กและใช้งานง่าย 3

ข้อดีของใยแก้วนำแสดงคือ 1. ขนาดเล็กและน้ำหนักเบา 2. มีค่าแบนด์วิดธ์สูง ทำให้อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูง 3. มีความทนทานต่อคลื่นรบกวน 4. การเสียกำลังของสัญญาณมีน้อยกว่าสื่อชนิดอื่น 5. สามารถติดตั้งใช้งานในอุณหภูมิที่สูงหรือต่ำมาก ๆได้ ข้อเสีย 1. ราคาแพง 2. มีความเปราะบาง แตกหักง่าย 3. การติดตั้งต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษ

2. สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้ หรือระบบไร้สาย (Wireless System) คลื่นไมโครเวฟ (Microwave แสงอินฟราเรด (Infrared) ระบบสื่อสารวิทยุ (Radio Link) ระบบดาวเทียม (Satellite Link) บลูทูธ (Bluetooth)

1. ระบบคลื่นไมโครเวฟ

ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ. - การรับ-ส่ง ใช้จานสะท้อนรูปพาลาโบลา ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ - การรับ-ส่ง ใช้จานสะท้อนรูปพาลาโบลา - การส่งสัญญาณข้อมูลจะทำการส่งต่อ ๆ กัน จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง เป็นทอด ๆ การส่งสัญญาณระหว่างสถานีจะเดินทางเป็นเส้นตรง - สถานีหนึ่ง ๆ ครอบคลุมพื้นที่ในการรับสัญญาณ 30-50 กิโลเมตร - ใช้ความถี่ 2-40 GHz ในการส่งสัญญาณ ความถี่อยู่ในช่วง 2.400-2.484 GHz ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ข้อดี 1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสาย 2. มีค่าแบนด์วิดธ์สูง มีผลทำให้ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงด้วย ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย เช่น พายุ ฟ้าผ่า 2. ค่าติดตั้งจานและเสาส่งมีราคาแพง 3. ต้องขอใช้ความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร

2. แสงอินฟราเรด (Infrared) ลักษณะของแสงอินฟราเรด - ใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ ๆ เช่นในห้องเดียวกัน - นิยมใช้สื่อสารข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น - อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลไม่สูง ประมาณ 4 Mbps ข้อดี 1. ราคาถูก สามารถสะท้อนกลับวัตถุได้ 2. ไม่ต้องขอใช้ความถี่จากองค์กรสื่อสาร ข้อเสีย 1. ไม่สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้ เดินทางในแนวเส้นตรง 2. ถูกรบกวนจากแสงอาทิตย์ได้ง่าย

3. คลื่นวิทยุ (Radio Link) ลักษณะของระบบสื่อสารวิทยุ - ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ ใช้ได้กับหลาย สถานี - ใช้ความถี่ในช่วย 400-900 MHz ข้อดี 1. ใช้งานได้ไม่ต้องขอใช้คลื่นความถี่ 2. สามารถส่งสัญญาณกับสถานีเคลื่อนที่ได้ 3. มีค่าแบนด์วิดธ์สูง อัตราการส่งข้อมูลสูงด้วย ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ความปลอดภัยของข้อมูลต่ำ

มีอุปกรณ์ระบบทวนสัญญาณ (Repeater) 4. ดาวเทียม  (Satellite) Up-link Down-link มีอุปกรณ์ระบบทวนสัญญาณ (Repeater)

ลักษณะของระบบดาวเทียม. - คล้ายกับไมโครเวฟ ลักษณะของระบบดาวเทียม - คล้ายกับไมโครเวฟ - การส่งสัญญาณจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม เรียกว่า อัปลิงค์ (Uplink) - การส่งสัญญาณจากดาวเทียมมายังพื้นดิน เรียกว่า ดาวน์ลิงค์ (Downlink) - มีอุปกรณ์เรียกว่า Transponder ทำหน้าที่ รับ – ส่ง สัญญาณ และขยายสัญญาณ ระหว่างพื้นโลกและดาวเทียม

ข้อดีของระบบดาวเทียม 1. สามารถส่งสัญญาณได้ในระยะไกล อัตราความเร็วสูง 2. ไม่มีปัญหาสายขาด 3. ค่าใช้จ่ายในการาติดตั้งไม่ขึ้นกับระยะทาง ข้อเสีย 1. จะเกิดความล่าช้าของสัญญาณ เรียกว่า ความหน่วยในการแพร่สัญญาณ 2. อุปกรณ์ในการติดตั้งราคาแพง 3. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย เช่น พายุ ฟ้าผ่า 4. เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ความรักษาความปลอดภัยต่ำ

5. บลูทูธ (Bluetooth) ลักษณะของบลูทธ - เป็นเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1998 - ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณ 2.5 GHz - ปัจจุบันสื่อสารได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร - สามารถสื่อสารผ่านวัตถุทึบแสงได้ - สามารถสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายอุปกรณ์ได้ ข้อดี 1. เป็นระบบที่มีมาตรฐานสามารถนำไปใช้งานได้ทั่วโลก 2. ใช้งานได้ทั้งข้อมูล เสียง และมัลติมีเดีย ข้อเสีย 1. เนื่องจากเป็นระบบที่สามารถสื่อสารกับอุปกรณ์ได้หลาย อุปกรณ์จึงมีปัญหาเรื่องการชนกันของข้อมูล

หลักการพิจารณาเลือกใช้สื่อกลาง 1. ต้นทุน (Cost) 2. ความเร็ว (Speed) 3. ระยะทาง (Distance) 4. สภาพแวดล้อม (Environment) 5. ความปลอดภัยของข้อมูล (Security)

สื่อกลางในการส่งข้อมูล 2 สื่อกลางในการส่งข้อมูล

ประเภทของระบบเครือข่าย

1. ระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (LAN-Local Area Network)

2. ระบบเครือข่ายระหว่างเมือง (MAN- Metropolitan Area Network)

3. ระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN-Wide Area Network)

4. อินเทอร์เน็ต

รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย

3. การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน

4. เครือข่ายแบบผสม

องค์ประกอบของระบบเครือข่าย 1. อุปกรณ์ฮารด์แวร์ 2. ซอฟต์แวร์ 3. ตัวกลางนำข้อมูล

1. อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ 1.1. NIC (Network Interface Card)

1.2 HUB

1.3 Bridge

1.4 Router