วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ ผู้แต่ง เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์หรือเจ้าฟ้ากุ้ง เป็นโอรสของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระราชมารดาคือพระพันวสาใหญ่
เจ้าฟ้ากุ้งทรงมีความรู้ทางอักษรศาสตร์แตกฉานมาก เป็นผู้รอบรู้ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม ได้รับยกย่องเป็นกวีเอกแห่งกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ. 2275 - 2310 )
งานนิพนธ์ที่สำคัญของเจ้าฟ้ากุ้ง 1. นันโทปนันทสูตรคำหลวง เป็นวรรณกรรม ทางศาสนา 2. พระมาลัยคำหลวง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง กาพย์ห่อโคลงนิราศพระบาท กาพย์เห่เรือ
ประวัติเจ้าฟ้ากุ้ง พ.ศ. 2258 ประสูติ พ.ศ. 2258 ประสูติ พ.ศ. 2278 บวชที่วัดโคกแสง ได้ฉายาว่า สิริปาโล พ.ศ. 2280 ลาผนวช เพราะพระราชมารดาประชวรหนัก ได้ทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้แก่พระองค์
พ.ศ. 2284 ได้รับสถาปนาเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พร้อมทั้งพระราชทานเจ้าฟ้าอินทสุดาวดีให้เป็นพระชายา พ.ศ. 2298 ทิวงคต เพราะต้องอาญาพระราชบิดาโดยถูกโบยจนสิ้นพระชนม์ เพราะมีความสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับพระสนมของพระบิดา
รูปแบบการประพันธ์ กาพย์เห่เรือมีคำประพันธ์ 2 ชนิด คือ 1. โคลง 4 สุภาพ 2. กาพย์ยานี 11
รูปแบบโคลงสี่สุภาพ
วรรคหลัง 2 คำ ยกเว้นวรรคที่ 8 มี 4 คำ องค์ประกอบโคลง 4 สุภาพ 1 บทมี 8 วรรค วรรคหน้า 5 คำ วรรคหลัง 2 คำ ยกเว้นวรรคที่ 8 มี 4 คำ คำในวงเล็บเรียกว่าคำสร้อย จะมีหรือไม่มีก็ได้ บังคับ เอก 7 โท 4 1 บทมี 4 บาท 1 บาท มี 2 วรรค
คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 3 และวรรคที่ 5 ลักษณะการบังคับ คำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 3 และวรรคที่ 5 คำสุดท้ายของวรรคที่ 4 ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ 7
รูปแบบกาพย์ยานี 11
องประกอบของกาพย์ยานี 11 องประกอบของกาพย์ยานี 11 1 บท มี 4 วรรค วรรคหน้า 5 คำ วรรคหลัง 6 คำ 1 บทมี 2 บาท 1 บาทมี 2 วรรค
ที่มาของกาพย์เห่เรือ กาพย์เห่เรือได้แบบอย่างมาจากประเทศอินเดีย โดยชาวฮินดูจะใช้สวดเพื่อบูชาพระราม และพระลักษณ์ เพราะมีความเชื่อว่าพระรามและ พระลักษณ์ จากโลกมนุษย์ไปสู่สวรรค์ทางแม่น้ำคงคา ดังนั้นเมื่อจะข้ามแม่น้ำคงคา จึงต้องมีการสวดคำนมัสการพระรามเพื่อเป็นสิริมงคล
จุดมุ่งหมายการเห่เรือของไทย 1. เป็นกลวิธีที่ใช้ผ่อนแรงในขณะทำงานหนัก 2. ทำให้เกิดจังหวะในการพาย 3. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
การเห่เรือมีอยู่ 2 ประเภท คือ การเห่เรือมีอยู่ 2 ประเภท คือ 1. เห่เรือหลวง คือการเห่เรือเนื่องในงานพระราชพิธี 2. เห่เรือเล่น สำหรับเที่ยวเตร่กัน ฤดูของการเล่นเรือ เริ่มตั้งแต่ออกพรรษาไปจนถึง สิ้นเดือน 12
ลำนำสำหรับการเห่เรือ มี 4 ชนิด คือ ลำนำสำหรับการเห่เรือ มี 4 ชนิด คือ 1. เกริ่นโคลง ใช้เมื่อพระเจ้าแผ่นดินเสด็จประทับในเรือ 2. ช้าลวะเห่ ใช้เห่เมื่อเรือเคลื่อนตัวออกช้า ๆ ลักษณะการพายเรียกว่า นกบิน
ใช้เห่เมื่อเรือจวนถึงที่ประทับ 3. สวะเห่ ใช้เห่เมื่อเรือจวนถึงที่ประทับ 4. มูลเห่ ใช้เห่ตอนกลับ เป็นจังหวะที่เร็ว ซึ่งต้องพายเรือทวนน้ำ พวกฝีพายจะออกแรงมาก และจะรับว่า “ ฮ้าไฮ้” พร้อมกันทุกบท อนันตนาคราช
- - ชะ - - - ชะ ฮ้าไฮ้ เฮ้เฮ เฮ้เฮ เฮเห่เฮเฮ เฮเฮเฮ เฮ้เฮเฮเห่เฮเฮ จังหวะของการเห่ - - ชะ - - - ชะ ฮ้าไฮ้ เฮ้เฮ เฮ้เฮ เฮเห่เฮเฮ เฮเฮเฮ เฮ้เฮเฮเห่เฮเฮ