สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Advertisements

ศาสนพิธี.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ประเพณีต่างๆ โดย รศ. สุทธิชัย ยังสุข คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
ข้อคิดสำหรับการไตร่ตรอง "ศีลล้างบาปทำให้ชีวิตฉันเปลี่ยนแปลงไป"
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พระพุทธศาสนา (Buddhism) Lord Buddha.
พระพุทธเจ้าและกำเนิดพระพุทธศาสนา
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
กาลามสูตร สูตรหนึ่งในคัมภีร์ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสสอนชนชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคม ในแคว้นโกมล ไม่ให้เชื่องมงายไร้เหตุผล ตามหลัก ๑๐ ข้อ.
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
ศาสนาคริสต์ -ศาสนาคริสต์ กำเนิดในดินแดนปาเลสไตน์ ซึ่งในขณะนั้นตกอยู่ในอำนาจ ของโรมัน -นักบุญเปาโล และนักบุญปีเตอร์ นำเข้าไปเผยแผ่ที่กรุงโรม ในต้น c2 -หลักคำสอน.
วันมาฆบูชา.
History มหาจุฬาฯ.
ระบบความเชื่อ.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
ศาสนา QUIZ เข้าสู่คำถาม.
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
ศาสนพิธี ในวิถีสังคมไทย
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
คำว่า “ หว่านพืชเช่นใดย่อมได้ผล เช่นนั้น ” หมายถึงความเชื่อในเรื่องอะไร ตอบคูกทำข้อต่อไป ตอบผิดศึกษาบทเรียนใหม่ ตอบถูกค่ะ Your answer: The correct answer.
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
วันอาสาฬหบูชา.
นายกษิดิ์เดช วันโทน เสนอ เรื่อง วันสำคัญในพระพุทธศาสนา วิชา
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
แบบทดสอบศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาในประเทศไทย.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การจัดการเรียนการสอน
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
บทที่๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วัฒนธรรม. ๑ วัตุประสงค์การเรียนประจำบท บอกความหมายของวัฒนธรรมได้ บอกความสำคัญของของวัฒนธรรมได้ บอกองค์ประกอบของวัฒนธรรมได้
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
ศาสนาคริสต์.
ศาสนาคริสต์.
ศาสนาอิสลาม.
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
องค์ประกอบสังคมอยุธยา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
ศาสนาคริสต์.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร. 083-989-3239 วิถีธรรมวิถีไทย สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร. 083-989-3239

บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา ศาสนา (Religion) คือ ลัทธิความเชื่อของมนุษย์โดยมีหลักแสดงกำเนิดและสิ้นสุดของโลก โดยมีหลักคำสอน หลักการ หรือข้อปฏิบัติ สำหรับการพัฒนาตนเองให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

ความสำคัญของศาสนา ศาสนามีความสำคัญต่อมนุษย์ที่สำคัญมี 7 ประการคือ 1. เป็นที่พึ่งทางใจและเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ

เป็นแหล่งกำเนิดจริยธรรม เป็นบรรทัดฐานในการดำเนินชีวิต เป็นกลไกควบคุมสังคม เป็นแห่งกำเนิดศิลปะและวัฒนธรรม เป็นมรดกของสังคม ทำให้คนเป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์

ลักษณะของศาสนา มี 4 ประการคือ เป็นคำสอนที่เป็นนามธรรม เป็นคำสอนเกี่ยวกับหลักศีลธรรม เป็นคำสั่งสอนที่กล่าวถึงจุดมุ่งหมาย สูงสุด เช่น การนิพพาน , การหลุดพ้นจากวัฎสังสาร 4. เป็นหลักเกณฑ์ในการประกอบพิธี กรรมทางศาสนา

องค์ประกอบของศาสนา มี 6 ประการ คือ ศาสดาหรือผู้ประกาศศาสนา คำสอนในศาสนา สาวกหรือผู้สืบทอดศาสนา ศาสนสถาน สัญลักษณ์หรือเครื่องหมาย ประเพณีหรือพิธีกรรม

พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระพุทธองค์ตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ สิ่งเคารพสูงสุดพระพุทธศาสนาเรียกว่า พระรัตนตรัย

ประวัติศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เก่าแก่ เป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม ศาสนาพราหมณ์ต่างจากศาสนาอื่นคือ ไม่มีศาสดา นับถือคัมภีร์พระเวท ภักดีต่อพระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ และเชื่อในเรื่องของกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด

ศาสนาอิสลาม ประวัติศาสนา เกิดในประเทศซาอุดิอารเบีย เมื่อพุทธศักราช 1133 เป็นศาสนาประจำชาติของประเทศซาอุดิอารเบีย จากนั้นก็ขยายไปสู่ประเทศต่างๆ ในทวีปแอฟริกา สู่ประเทศปากีสถาน บังคลาเทศ อินเดีย จีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย และทวีปเอเซีย

ศาสนาคริสต์ คริสต์มาจากคำว่า คริสตอส คือ ผู้ที่ได้รับให้เป็นตัวแทนพระเจ้า เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้ไถ่บาป ให้มนุษย์ มี 3 นิกาย โรมันคาทอริก ออร์ธอร์ดอกซ์ และโปรเตสแตนต์ จุดมุ่งหมายสูงสุดคือ สวรรค์และเข้าถึงพระเจ้า หลักธรรมจะปรากฎในคัมภีร์ไบเบิล

วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา ย่อมาจากคำว่า "มาฆปุรณมีบูชา" แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือน ๓ ถือเป็น "วันจาตุรงคสันนิบาต" แปลว่า การประชุมอันประกอบด้วยองค์ ๔ ซึ่งเป็นเหตุการณ์อัศจรรย์เกิดขึ้นพร้อมกันในสมัยพุทธกาล

วันวิสาขบูชา วันวิสาขบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะหรือเดือน ๖ เนื่องในโอกาสคล้ายวันที่พระพุทธเจ้า ประสูติ - ตรัสรู้ – และเสด็จดับขันธ ปรินิพพาน

วันอาสาฬหบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ หรือ เดือน ๘ เนื่องในโอกาสคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนาเป็นครั้งแรก โดยแสดงปฐมเทศนา คือ ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร เป็นผลให้เกิดมีพระสาวกรูปแรกขึ้นในพระพุทธศาสนา จนถือได้ว่าเป็นวันแรกที่มี พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบเป็นองค์พระรัตนตรัย

ความสำคัญของพระพุทธศาสนา บทที่ 2 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทย พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของสังคมไทย ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีจำนวนผู้นับถือพระพุทธศาสนามากที่สุดในโลก พระมหากษัตริย์ทรงเป็น พุทธมามกะ

หลักของพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนาในการพัฒนาศรัทธา ศรัทธา แปลว่า ความเชื่อ ใช้คู่กับ ปสาทะ แปลว่า ความเลื่อมใส ประกอบด้วย ความเชื่อในกฎธรรมชาติ ความเชื่ออย่างมีเหตุผล ความเชื่อในตัวมนุษย์

หลักการของพระพุทธศาสนาในการพัฒนาปัญญา ปัญญา หมายถึง ความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้ในเหตุผล หรือความรู้ทั่วถึงในความจริงในทางพระพุทธศาสนา หลักธรรมที่ทรงแสดง คือ กาลามสูตร แสดงถึงการไม่เชื่อง่ายๆ 10 ข้อ

ปัญญาเกิดได้ 3 ทาง คือ สุตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการเล่าเรียน จินตามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการพิจารณาหาเหตุผล ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฎิบัติ

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนายอมรับศักยภาพของมนุษย์ พระพุทธเจ้าทรงมอบความเป็นใหญ่ให้แก่พระสงฆ์ เมื่อมีเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวม หรือกระทบถึงความเสื่อมความเจริญของพระศาสนา สงฆ์จะต้องใส่ใจขวนขวายดำเนินการ พระพุทธศาสนายึดหลักสร้างความสามัคคี