อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
มูลค่าของเงินตามเวลา
การประเมินราคาตราสารหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Advance Excel.
Gain 1st 116.
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 กันยายน 2552
“โครงการบ้านมิตรภาพ สปส.-ธอส.”
สวัสดิการ สมาชิก กบข..
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร. วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร.
กองทุนสวัสดิการ.
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
ระเบียบการเงินที่ควรทำความรู้จัก
การบันทึกบัญชีงานระหว่างก่อสร้าง
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งบลงทุน Capital Budgeting
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
ร้านซ่อม ประกอบคอมพิวเตอร์ (ในและนอกสถานที่)
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
มูลค่าเงินตามเวลา ( TIME VALUE OF MONEY )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
ฝ่ายสินเชื่อ นายประเวส รัตนโอภาส ผู้ช่วยผู้จัดการ นายวัชรพงษ์ ปลอดกระโทก เจ้าหน้าที่สินเชื่อ นายณัฐพล มีชัย เจ้าหน้าที่สินเชื่อ.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
เป้าหมาย GOAL.
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
วิธีการออมเงินแบบบ้านๆ (กดคลิ๊กไปเรื่อยๆเพื่อเป็นการดูไฟล์)
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
1.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทุนมรดก คุณลูกค้ารัก และห่วงกังวลใครมากที่สุด ในชีวิตค่ะ ? คุณลูกค้ารัก และห่วงกังวลใครมากที่สุด ในชีวิตค่ะ ? ถ้าจะให้หมดห่วง หมดกังวล คุณลูกค้า คิดว่าต้องเตรียมเงินเป็นมรดกไว้ให้ลูก.
วิชาการบัญชีตั๋วเงิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน
“ ถ้าใช้เงินเป็น ต้องเห็นเงินออม ”
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
หนี้ของ สมาชิก ทั้งหมด หนี้ของสมาชิกทุก สัญญารวมกันไม่เกิน หนึ่งแสน สำรวจครั้ง แรก ก่อน 30 สิงหาคม 2551 สำรวจเพิ่มเติมถึง วันที่ 30 กันยาน 2551 ( ไม่เกิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel. 0839893141 Advance Excel อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel. 0839893141

การใช้ฟังก์ชัน NPER ฟังก์ชัน Nper เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการคำนวณหาระยะเวลาจำนวนปี หรือเดือน ที่จะต้องลงทุน รูปแบบ =NPER (Rate, Pmt, Pv, Fv, Type) rate อัตราดอกเบี้ย Pmt จำนวนเงินที่ต้องชำระรายงวด (จะเป็นค่าติดลบ เพราะเป็นเงินที่จ่ายออกไป) Pv ค่าเงินปัจจุบันหรือเงินต้น (เป็นค่าติดลบ) Fv ค่าเงินในอนาคต Type มีค่าเป็น 0 (จ่ายปลายงวด) หรือ 1 (จ่ายทุกต้นงวด)

Example 09.xls นายทรัพย์วางแผนว่าจะฝากเงินจำนวน 1,000,000 บาท แต่ปัจจุบัน มีเงินเพียง 100,000 บาท จึงนำไปฝากกับธนาคาร โดยได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อปี และจะฝากเพิ่มทุก ๆ สิ้นปี ปีละ 25,000 บาท อยากทราบว่านายทรัพย์จะต้องฝากเงินกี่ปี จึงจะครบ 1,000,000 บาท rate อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี = 10% Pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด = -25,000 บาท pv มูลค่าเงินปัจจุบันหรือเงินต้นคือ -100,000 บาท fv มูลค่าของเงินในอนาคต 1,000,000 บาท type มีค่าเป็น 0 (จ่ายทุกสิ้นปี) =Nper (10%, -25000, -100000 ,1000,000 ,0) = 13.4 ปี

ถ้านายทรัพย์ทรัพย์ตัดสินใจนำเงิน 1 ล้านบาทไปฝากกับธนาคารและถอนมาใช้ประมาณ 80,000 บาทต่อปี ทุก ๆ ต้นปี โดยได้รับอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5 ต่อปี อยากทราบว่าจะใช้เงินจำนวนที่ฝากกี่ปี จึงจะหมด rate อัตราดอกเบี้ย 5% ต่อปี = 5% Pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด = 80,000 บาท pv มูลค่าเงินปัจจุบันหรือเงินต้นคือ -1,000,000 บาท fv มูลค่าของเงินในอนาคต 0 type มีค่าเป็น 1 (จ่ายทุกต้นปี) =Nper (5%, 80000, -1000000 , 0 , 1) = 18.5 ปี

โจทย์ ถ้าต้องการซื้อรถยนต์ราคา 800,000 บาท จ่ายเงินดาวน์ 20 % แล้วผ่อนชำระกับธนาคาร อัตราดอกเบี้ย 24% ต่อปี อยากทราบว่าถ้าจะผ่อนชำระต่องวด ๆ ละ 10,000 บาท จะต้องใช้เวลาผ่อนชำระทั้งหมดกี่งวด (เดือน) ถ้าต้องการซื้อบ้านราคา 1,500,000 บาท โดยไม่มีเงินดาวน์ อัตราดอกเบี้ย 36% ต่อปี มีกำลังผ่อนต่อเดือน ๆ ละ 20,000 บาท จะต้องใช้เวลาในการผ่อนชำระกี่ปี หรือ กี่งวด (เดือน)

การใช้ฟังก์ชัน PV (ผลลัพธ์ที่ได้จะติดลบ) ฟังก์ชัน Pv เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการคำนวณหามูลค่า ของเงิน ในปัจจุบัน รูปแบบ =PV (Rate, Nper, Pmt, Fv, Type) rate อัตราดอกเบี้ย Nper จำนวนระยะเวลา Pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด Fv มูลค่าของเงินในอนาคต Type มีค่าเป็น 0 (จ่ายปลายงวด) หรือ 1 (จ่ายทุกต้นงวด)

นายดวงดี ต้องเดินทางไปทำงานที่มาเลเซีย โดยประมาณว่าค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพ เดือนละ 2,000 บาท ตลอดระยะเวลา 1 ปี รวมทั้งมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับประเทศไทยจำนวน 800 บาท โดยต้องเปิดบัญชีไว้กับธนาคาร เพื่อใช้เบิกเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน โดยธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6% ต่อปี อยากทราบว่านายดวงดีต้องฝากเงินไว้กับธนาคารเป็นจำนวนเงินเท่าใด rate อัตราดอกเบี้ย 6% ต่อปี ดังนั้น rate ต่อเดือน 6/12 = 0.5% Nper จำนวนงวด 1 ปี ทำให้เป็นเดือน 1*12 = 12 เดือน Pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด = 2,000 บาท fv มูลค่าาของเงินในอนาคต = 800 บาท type มีค่าเป็น 0 (ถ้าไม่ได้ระบุว่าต้นงวด หรือปลายงวด) =Pv (0.5% , 12 , 2000 , 800 , 0 ) = (23,991.39) บาท

1. สดใส ต้องการไปเรียนต่อต่างประเทศ จะต้องมีค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพเดือนละ 5,000 บาท ตลอดระยะเวลา 2 ปี รวมทั้งตั๋วเครื่องบินขากลับด้วย 20,000 บาท สดใส ไปเปิดบัญชีกับธนาคารออมทรัพย์ โดยธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี อยากทราบว่าจะต้องฝากเงินกับธนาคารเป็นจำนวนเงินเท่าใด 2. ถ้าต้องการเดินทางไปประเทศเยอรมัน เพื่อทำงานวิจัย 5 ปี โดยประมาณว่าจะมีค่าใช้จ่ายต่อเดือน 30,000 บาท รวมทั้งมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับ 25,000 บาท โดยค่าใช้จ่ายทั้งหมด บริษัทที่ทำวิจัยจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ โดยจ่ายผ่านธนาคาร ด้วยอัตราดอกเบี้ย 7% ต่อปี ถามว่า ทางบริษัทจะต้องจ่ายเงินทั้งหมดเท่าใดรวมทั้งค่าเดินทางกลับด้วย

การใช้ฟังก์ชัน Rate ฟังก์ชัน Rate เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการคำนวณหา อัตราดอกเบี้ย รูปแบบ =Rate (Nper, Pmt, Pv, Fv, Type) Nper จำนวนระยะเวลา Pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด Pv มูลค่าของเงินปัจจุบัน Fv มูลค่าของเงินในอนาคต Type มีค่าเป็น 0 (จ่ายปลายงวด) หรือ 1 (จ่ายทุกต้นงวด)

นายมนตรีมีเงินอยู่ 20000 บาท และต้องการให้มีเงินเพิ่มเป็น 50000 บาท ภายในระยะเวลาอีก 5 ปีข้างหน้า อยากทราบว่า นายมนตรีต้องฝากเงินกับธนาคารที่ให้ผลตอบแทนอัตราดอกเบี้ยร้อยละเท่าใด Nper จำนวนงวด 5 ปี = 5 Pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด = 0 บาท Pv มูลค่าของเงินปัจจุบัน = -20000 fv มูลค่าาของเงินในอนาคต = 50000 บาท type มีค่าเป็น 0 (เพราะไม่ได้ระบุว่าต้นงวด หรือปลายงวด) =Rate (5 , 0 , -20000 , 50000 , 0 ) = 20.1 %

โจทย์ นายมั่นคงต้องการได้เงินไปเรียนต่อในอีก 5 ปี ข้างหน้า โดยต้องใช้เงินทุน 1,500,000 บาท และเขามีเงินฝากกับทางธนาคาร เพียง 100,000 บาท อยากทราบว่า นายมั่นคงต้องฝากเงินกับธนาคารที่ให้ผลตอบแทนอัตราดอกเบี้ยร้อยละเท่าใด นายไทยประกันมีเงินอยู่ 20000 บาท และต้องการให้มีเงินเพิ่มเป็น 1,000,000 บาท ภายใน 10 ปีข้างหน้า อยากทราบว่าต้อง ฝากเงินกับทางธนาคารที่ให้ผลตอบแทนดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเท่าใด