Skill 1 – Analyzing the Problem
ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เห็นกับสิ่งที่ต้องการ Analyzing the Problem ทีมพัฒนามักจะคิดแนวทางแก้ไขปัญหา บนพื้นฐานของการขาดความเข้าใจ ตัวปัญหาอย่างเพียงพอ ทำให้ได้ระบบที่ไม่ตรงตามที่ต้องการ ระบบไม่สามารถแก้ปัญหาได้ เกิดความไม่พอใจระหว่างกัน การทำงานไม่ราบรื่น ผลประโยชน์รวมขององค์กรลดลง กระทบผลตอบแทน … Problem ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เห็นกับสิ่งที่ต้องการ Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
Five Steps in Problem Analysis Key Points การวิเคราะห์ปัญหาเป็นกระบวนการที่ทำให้เราเข้าใจปัญหาที่แท้จริง และรู้ ว่าผู้ใช้ต้องการอะไร เพื่อนำเสนอแนวทางแก้ไขที่ถูกต้องและตรงจุด เป้าหมายของการวิเคราะห์ปัญหา มีเพื่อการได้มาซึ่งแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดี ที่สุดก่อน เข้าสู่ขั้นตอนการพัฒนา เพื่อให้ได้มาซึ่งต้นตอของปัญหาที่แท้จริง หรือมองหาปัญหาที่ซ่อนอยู่ให้พบ การกำหนดตัวบุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในขั้นตอนการวิเคราะห์ ปัญหา Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
Five Steps in Problem Analysis Gain agreement on the problem definition (ข้อตกลง ร่วมกันในการระบุตัวปัญหา) Understand the root causes—the problem behind the problem Identify the stakeholders and the users Define the solution system boundary (กำหนดขอบเขตของ แนวทางการแก้ปัญหา) Identify the constraints to be imposed on the solution (กำหนดข้อจำกัดต่างๆ ในแต่ละแนวทางการแก้ปัญหา) Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
1: Gain Agreement on the Problem Definition ขั้นตอนแรกคือ เริ่มเขียนปัญหาทั้งหมดออกมาทั้งหมด และให้ทุกคน ตัดสินใจร่วมกันว่าปัญหาที่ทุกคนเห็นพ้องว่าเป็นปัญหา คือข้อใด นำปัญหาที่เลือกโดยผ่านการตกลงร่วมกัน มาเขียนให้อยู่ในรูปแบบที่เป็น มาตรฐาน เพื่อให้ง่ายต่อการสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ และเพื่อความเข้าใจที่ ตรงกัน ไม่ผิดเพี้ยน Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
Sample of Problem Statement หัวข้อ รายละเอียด ปัญหา ? ส่งผลกับ ผลกระทบที่เกิดขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับหลังจากการแก้ปัญหา Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
2: Understand the Root Causes ตัวอย่าง บริษัท อมยิ้ม จำกัด ดำเนินกิจการขายของหลายชนิดโดยเน้นของที่ราคาไม่ แพงเป็นทั้งของใช้ในบ้านและของใช้ส่วนตัว กำลังประสบปัญหาเรื่องผลกำไร ทางบริษัทจึงเริ่มแก้ไขปัญหาดังกล่าว ด้วยการนำระบบ TQM (Total Quality Management) มาใช้เพื่อหาต้นเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับ การดำเนินกิจการ เครื่องมือที่นำมาใช้คือ แผนภาพก้างปลา(Fishbone Diagram) ผลลัพธ์ที่ได้จากการร่วมกันระดมสมอง เป็นดังนี้ Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
2: Understand the Root Causes Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
2: Understand the Root Causes ใช้หลักของ Pareto เพื่อเลือกต้นเหตุของปัญหาที่สำคัญ และต้องแก้ก่อน Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
2: Understand the Root Causes เลือกแก้ไขปัญหาจากสาเหตุเกี่ยวกับ Sales Order ที่ไม่ถูกต้องโดย พัฒนาระบบขึ้นมาใหม่เพื่อแทนที่ระบบเดิมที่ทำอยู่ Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
2: Understand the Root Causes Applying different problem analysis techniques as a problem unfolds Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
Sales Order Problem Statement หัวข้อ รายละเอียด ปัญหา Sales Order ไม่ถูกต้อง ส่งผลกับ Sales order personnel, customers, manufacturing, shipping, and customer service. ผลกระทบที่เกิดขึ้น Increased scrap, excessive handling costs, customer dissatisfaction, and decreased profitability ประโยชน์ที่ได้รับหลังจากการแก้ปัญหา ? Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
Sales Order Problem Statement หัวข้อ รายละเอียด ประโยชน์ที่ได้รับหลังจากการแก้ปัญหา That creates a new system to address the problem include Increased accuracy of sales orders at point of entry Improved reporting of sales data to management Ultimately, higher profitability Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
3: Identify users and stakeholders กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งได้รับผลจากการนำระบบใหม่ลงใช้งาน ตย.คำถามที่สามารถช่วยให้เราหากลุ่มของ Stakeholder ได้สะดวกขึ้น Who are the users of the system? Who is the customer (economic buyer) for the system? Who else will be affected by the outputs the system produces? Who will evaluate and approve the system when it is delivered and deployed? Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
3: Identify users and stakeholders ตัวอย่างที่ได้จากการวิเคราะห์หากลุ่มบุคคลที่เป็น ผู้ใช้ระบบและผู้ถือ ประโยชน์ร่วมที่มีส่วนได้ส่วนเสีย Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
4: Define the Solution เราจะแยกระบบออกเป็น 2 ส่วนคือ Our System Things that interact with our system someone or something outside the system that interacts with the system Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
4: Define the Solution (2) System Boundary Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
4: Define the Solution (3) How do we find these actors? Here are some helpful questions to ask Who will supply, use, or remove information from the system? Who will operate the system? Who will perform any system maintenance? Where will the system be used? Where does the system get its information? What other external systems will interact with the system? Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
4: Define the Solution (4) มีทั้งระบบใหม่ที่ต้องพัฒนาขึ้น และแก้ไขระบบงานเดิมบางส่วนเพื่อทำงานร่วมกัน System Perspective Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
5: Identify the Constraints จุดที่เราควรมองหาข้อจำกัดต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นเมื่อต้องดำเนินการ ข้อจำกัดด้าน Economics เช่น ค่าใช้จ่ายด้านการพัฒนา, ค่าลิขสิทธ์ ข้อจำกัดด้านนโยบาย ข้อจำกัดด้านเทคโนโลยี เช่น อนุญาตให้ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ได้หรือไม่ เป็นต้น ข้อจำกัดด้านระบบการทำงาน เช่น โปรแกรมต้องทำงานภายใต้ระบบงานวินโดว์ ได้ ระบบใหม่ต้องทำงานภายใต้ระบบเดิมที่ใช้งานอยู่และสามารถติดต่อกับ ระบบงานเดิมของบริษัทได้ เป็นต้น ข้อจำกัดด้านสภาพแวดล้อมในการนำระบบไปใช้งาน เช่น เงื่อนไขทางกฏหมาย ระบบรักษาความปลอดภัย และมาตรฐานต่างๆ ที่ต้องยึดและปฏิบัติตาม ข้อจำกัดด้านทรัพยากร และระยะเวลา Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
5: Identify the Constraints (2) ตัวอย่างข้อจำกัดของระบบใหม่ที่จะพัฒนา Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.
Summary หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนนี้ เราสามารถแน่ใจได้ว่าเราเข้าใจปัญหา เป็นอย่างดีแล้ว และสามารถหาต้นเหตุที่แท้จริงของปัญหาได้ เราสามารถระบุกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบ ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย พร้อมที่จะทำให้ระบบประสบความสำเร็จ หรือล้มเหลวได้ เราเข้าใจขอบเขตของระบบที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหาเป็นอย่างดีแล้ว เราได้ทราบถึงข้อจำกัดต่างๆ ที่มี ต่อการดำเนินการแก้ไขปัญหาเป็น อย่างดี Computer Science Department (FLAS) - Prasertsak U.