การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ร้านจำหน่ายหนังสือ ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข (1)
การเตรียมข้อมูลสำหรับจัดซื้อหนังสือ
Seminar in computer Science
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
บทที่ 3 Planning.
โครงการ ส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แนวคิดในการทำวิจัย.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การเขียนโครงการ.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

การคัดเลือกหรือการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการตัดสินใจเลือกทรัพยากรสารสนเทศให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ในนโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ เป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการก่อนการจัดหา ผู้รับผิดชอบงานด้านนี้จะต้องพิจารณาเลือกเฉพาะทรัพยากรที่มีคุณค่า ตรงกับความสนใจ และความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ต้องทำเป็นลายลักษณ์อักษร

แนวคิดในการเลือก เลือกเพื่อตัวเอง เลือกเพื่อคนอื่น

ปรัชญาของรังกานาธาน(Mr. Ranganathan ) หนังสือมีไว้ใช้ประโยชน์ (books are for use) ผู้อ่านแต่ละคนมีหนังสือที่ตนจะอ่าน (every reader his book) หนังสือทุกเล่มมีผู้อ่าน (every book its reader) ประหยัดเวลาผู้อ่าน (save the time of the reader) ห้องสมุดเป็นสิ่งที่มีชีวิตเติบโตได้ (a library is a growing organ)

ความสำคัญของการคัดเลือก หรือทำไมเราถึงต้องเลือก? การคัดเลือกมีผลต่อการให้บริการในอนาคต ใช้วัดมาตรฐานของห้องสมุดได้ ห้องสมุดมีความแตกต่างกัน ผู้ใช้แตกต่างกัน / ความต้องการต่างกัน ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศที่มีจำนวนมาก ความแตกต่างกันของทรัพยากรสารสนเทศ คุณภาพที่ดีสำหรับให้บริการ

ความสำคัญของการคัดเลือก หรือทำไมเราถึงต้องเลือก? จำนวนงบประมาณ สถานที่ของห้องสมุด ปริมาณทรัพยากรสารสนเทศที่มีจำนวนมาก ความแตกต่างกันของทรัพยากรสารสนเทศ คุณภาพที่ดีสำหรับให้บริการ

การคัดเลือกหรือการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ลักษณะการคัดเลือกจำแนกเป็น 2 ส่วนคือ การเลือกในระยะยาว การเลือกตามสาขาวิชาโดยจำแนกเป็นร้อยละ การเลือกในระยะสั้น เลือกตามรายการที่ผู้ใช้เสนอ

ผู้ที่ทำหน้าที่ในการคัดเลือก บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด ครู อาจารย์ คณะกรรมการห้องสมุด ผู้บริหาร ผู้ใช้บริการห้องสมุด

ข้อเสียของการคัดเลือกเพียงคนเดียวหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง มักเลือกเฉพาะหนังสือที่ใช้เฉพาะการสอน เลือกหนังสือที่ตนคุ้นเคย เลือกตามความสนใจส่วนตัว เลือกตามหัวข้อการวิจัยในงานของตน เลือกที่ต้องกำหนดให้นักเรียนอ่าน เลือกเพื่อใช้เงินให้หมด ได้หนังสือไม่สมดุลกับสาขาวิชาที่สอน

คุณสมบัติของผู้คัดเลือก มีความรู้อย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับหนังสือในสาขาวิชา รู้จักนักเขียนในแต่ละสาขาวิชา รู้ถึงพัฒนาการวรรณกรรมในแต่ละสาขาวิชา รู้จักสำนักพิมพ์ ความมีชื่อเสียงแต่ละด้าน มีความรู้ทางวิชาการสาขาต่างๆ

คุณสมบัติของผู้คัดเลือก รู้จักและคุ้นเคยกับผู้ใช้ห้องสมุด มีความยุติธรรม ไม่ลำเอียง ไม่อคติ มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือช่วยในการเลือก ทรัพยากรสารสนเทศ มีความสามารถในการอ่านได้รวดเร็ว เข้าใจได้ทันที

คุณสมบัติของผู้คัดเลือก เป็นนักอ่าน พยายามอ่านหนังสือทุกประเภท ติดตามความเคลื่อนไหว มีความรู้ในวิธีพิจารณาหนังสือ วิจารณ์หนังสือ มีความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของห้องสมุด

วิธีการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ บรรณารักษ์ทำหน้าที่เพียงคนเดียว มีคณะกรรมการทำหน้าที่ในการคัดเลือก ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดโรงเรียน การแบ่งความรับผิดชอบตามความสนใจและความถนัด

แนวทางในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การระบุคู่มือในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ข้อกำหนดในการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ ความต้องการหรือความจำเป็นของผู้ใช่ คุณภาพของทรัพยากรสารสนเทศ

แนวทางในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ คุณภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ราคา การเปรียบเทียบกับรายการเดิมที่มีอยู่

แนวทางในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ข้อกำหนดในการเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การจัดกลุ่มทรัพยากรสารสนเทศที่ประเมินคุณค่าแล้ว ต้องซื้อ ควรซื้อ สามารถซื้อได้ การตัดสินใจเลือกทรัพยากรสารสนเทศ

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกทั่วไป เลือกทรัพยากรที่ให้ประโยชน์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และนโยบายห้องสมุด เลือกให้ครอบคลุม มีสัดส่วนสมดุลกันแต่ละสาขา เลือกทรัพยากรที่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ ใช้หลักประเมินคุณค่าในการคัดเลือก

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกทั่วไป ไม่อคติ เป็นทรัพยากรที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี เลือกทรัพยากรที่คนจะใช้มาก เลือกที่มีความใหม่ ทันสมัย เลือกตามงบประมาณ เลือกที่จำเป็นกับห้องสมุด

ข้อควรคำนึงถึงในการคัดเลือก ความสนใจของผู้อ่าน ผู้ใช้ จำนวนและประเภทของทรัพยากรในแต่ละสาขา แผนพัฒนาห้องสมุดในอนาคต สำรวจตลาดหนังสือเพื่อทราบความเคลื่อนไหว

ปัญหาในการคัดเลือกทรัพยากร ทรัพยากรบางประเภท บางสาขา มีเฉพาะบางภาษา ขาดแคลนคู่มือ แหล่งในการคัดเลือก ทรัพยากรบางรายการอาจไม่ได้เห็นฉบับจริงก่อนตัดสินใจเลือก ห้องสมุดบางแห่งมีผู้คัดเลือกเพียงคนเดียว หรือเฉพาะคนบางกลุ่ม