คุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม ครั้งที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
Advertisements

นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
RNN Thailand Open Platform “ คนไทยทุกคนเป็นเจ้าของการปฏิรูป ”
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณค่าที่เกิดขึ้นจากการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม ครั้งที่ 1 1. เยาวชนมีโอกาสและพื้นที่ได้แสดงผลงานและศักยภาพให้สังคมรับรู้เรื่องราวดีๆของเยาวชนในฐานะที่เป็นพลังร่วมในการพัฒนาสังคม 2. เยาวชนรู้สึกมีคุณค่าและภาคภูมิใจในตนเอง เกิดกำลังใจ มีแรงบันดาลใจในการทำสิ่งดีๆ ที่เป็นการพัฒนาตนเอง และสังคมต่อไป 3. เชื่อมโยงภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการพัฒนาเยาวชนมาร่วมกันสื่อสารสร้างการรับรู้ให้สังคมเห็นศักยภาพของเยาวชนและเห็นความสำคัญในการสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของเยาวชนได้อย่างมีพลัง 4. เกิดการรวบรวมฐานข้อมูลเยาวชนต้นแบบใน 10 ประเด็น (ประมาน 200 ตัวอย่าง) และฐานข้อมูลองค์กรภาคีที่ทำงานด้านพัฒนาเด็กและเยาวชน (จำนวน 102 องค์กร) โดยจัดทำเป็นสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสารสร้างการรับรู้ของสังคมได้ในวงกว้าง 5. องค์กรภาคีเครือข่ายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชื่อมโยงการทำงานภายในประเด็น นำไปสู่ความร่วมมือขับเคลื่อนงานเชิงประเด็น เช่น ประเด็นจิตอาสา สิ่งแวดล้อม กลุ่มสภาเด็ก และเยาวชนกับ ICT

12/29/09 งานมหกรรมพลังเยาวชน เป็นการจัดงานเพื่อ แสดงพลังเชิงบวก ของเยาวชนในสังคม เพื่อให้สังคมยอมรับ “พลังเยาวชน” ที่จะร่วม คิด และ สร้าง สังคมไทยร่วมกับผู้ใหญ่ เปิดโอกาส และ ให้พื้นที่ ในการนำเสนอเรื่องราวและผลงานดีๆ ของเยาวชนที่ได้ใช้ พลัง ศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ในการพัฒนาตนเอง ผ่านการลงมือทำ ด้วยมุ่งมั่น และจริงจัง รวมทั้งแบ่งปันความรู้ ความสามารถให้กับสังคม นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอผลงานและพัฒนาเยาวชนในรูปแบบต่างๆ และการสังเคราะห์ความรู้เสนอต่อสังคม 3

12/29/09 วัตถุประสงค์ สร้างความตระหนักของสังคมว่า เยาวชน เป็นกลุ่มที่มีพลังสร้างสรรค์ เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนา/แก้ปัญหาสังคม เปิดพื้นที่ให้เยาวชนแสดงผลงานและเพื่อสร้างความภาคภูมิใจ และเกิดพลังในการพัฒนาตนเองและแบ่งปันกับสังคมต่อไป สร้างโอกาสให้เยาวชนแกนนำ ภาคีองค์กรพัฒนาเยาวชน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ เครื่องมือใหม่ๆ ในการพัฒนาเยาวชนร่วมกัน สานพลังภาคีเครือข่ายองค์กรพัฒนาเยาวชนให้ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของงาน และใช้งานมหกรรมพลังเยาวชนฯ เพื่อผลักดันการทำงานของแต่ละองค์กร 5. เผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ในการทำงานพัฒนาเยาวชน เพื่อยกระดับการทำงานภาคีเครือข่ายและเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ขับเคลื่อนนโยบาย 6. เป็นตลาดนัดให้คนทำงานพบกับผู้สนับสนุน

กลุ่มเป้าหมาย 2.ผู้เข้าร่วมงาน ประมาณ 700 คน ประกอบด้วย :- เยาวชน ได้ แสดงผลงาน ผ่านเวทีแสดงความสามารถ สื่อ สิ่งพิมพ์ หนังสั้น ละคร ฯ ได้เรียนรู้ เครื่องมือการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ใหม่ๆ และได้เรียนรู้ข้ามกลุ่ม 1.เยาวชนแกนนำที่นำความสำเร็จมาแสดง จำนวน 700 คน 2.ผู้เข้าร่วมงาน ประมาณ 700 คน ประกอบด้วย :- เยาวชน พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ บุคคลทั่วไป เติม ทักษะการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองภายใน ผ่านเครื่องมือการเรียนรู้ใหม่ๆ เห็นตัวอย่างการทำงาน เพื่อสังคม และชุมชน เกิดแรงจูงใจและนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอดงานของตน ได้ แสดงผลงาน ผ่านการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติ (Workshop) ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชื่อมร้อยเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนงานแต่ละประเด็น 3.องค์กรพัฒนาเยาวชน ได้ แสดงผลงาน CSR ขององค์กร (ด้านการพัฒนาเยาวชน) ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาเยาวชนของเครือข่าย เชื่อมร้อยเครือข่าย แสวงหาโอกาสในการสนับสนุนงานพัฒนาเยาวชน 4. องค์กรภาคธุรกิจ CSR club 5.สื่อมวลชน เห็นคุณค่าในพลังของเยาวชนที่มีต่อสังคมไทย นำข้อมูลไปสื่อสารขยายผล

ถอดความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนมุมมอง 12/29/09 สานเสวนา ถอดความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนมุมมอง ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สร้างกระแสสังคมด้านการพัฒนาเยาวชน นิทรรศการ สื่อ สารคดี หนังสั้น แสดงเรื่องราวดีๆ ของเยาวชนตัวอย่าง จาก 5 ประเด็น รูปแบบการจัดงาน มหกรรมพลังเยาวชน พลังสังคม “การแบ่งปัน” 6 – 8 พฤษภาคม 2554 เวทีการแสดงความสามารถเยาวชนในสวน หลายรส หลากสีสัน ดนตรี ละคร โชว์ ของเยาวชนจากทั่วประเทศ กิจกรรมสาธิต และ WORKSHOP เติมความรู้, เทคนิค, เครื่องมือการทำงาน สำหรับพัฒนาเยาวชน และพี่เลี้ยง 6

เครือข่าย ประเด็น 1: IT เพื่อการพัฒนาเยาวชน 1. ภาคีพูนพลังเยาวชน: ICT Youth Connect (สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม.มหิดล) 2. เครือข่ายเยาวชนพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิคส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ-NECTEC) ประเด็น 5: การปฏิรูปเรียนรู้เพื่อการพัฒนาเยาวชน แบ่งเป็นประเด็นย่อย คือ: ศาสนากับการเรียนรู้ของเยาวชน ได้แก่ 17. โครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ 18. เสถียรธรรมสถาน 19. เครือข่ายพุทธิกาฯ 20. หอจดหมายเหตุพุทธทาส ศิลปะ/การแสดง พื้นที่สร้างสรรค์ ได้แก่ 21. ละครเพื่อการพัฒนาเยาวชน(เครือข่ายหน้ากากเปลือย) 22. เยาวชนบีบอย (เครือข่ายบีบอยประเทศไทย) 23. พื้นที่สร้างสรรค์กับการเรียนรู้ของเยาวชน (เครือข่าย พื้นที่นี้ดีจัง) ดนตรี ได้แก่ 24. เยาวชนกับดนตรีคลาสสิค (คณะดุริยางคศาสตร์ ม.ศิลปากร) สื่อสร้างสรรค์กับเยาวชน ได้แก่ 25. เครือข่ายเยาวชนผลิตสื่อสร้างสรรค์ (แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชน) 26. เครือข่ายเยาวชนนักเขียนการ์ตูนไซไฟ (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ -สวทช.) 27. เยาวชนผลิตหนังสั้นและสารคดี (FUSE) 28.เครือข่ายการ์ตูน อื่นๆ ได้แก่ 29. โครงการพัฒนาเยาวชนด้วยการเรียนรู้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิสยามกัมมาจล 30. อุทยานการเรียนรู้ TK PARK 31. S CLUB 32. เครือข่ายศิลปะคนตรีคนพิการ ประเด็น 2: จิตอาสาเพื่อการพัฒนาเยาวชน 3. ภาคีพูนพลังเยาวชน : เครือข่ายจิตอาสา (30 องค์กร) 4. โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสา ในสถานศึกษา (มูลนิธิกระจกเงา) 5. โครงการจัดตั้งศูนย์อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เครือข่าย ประเด็น 3: พลังเยาวชน พลังท้องถิ่น 6. โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้ของเยาวชน ในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค (สรส.) 7. เครือข่ายเยาวชนรักแม่กลอง (ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจ.สมุทรสงคราม) 8. PDA 9.เครือข่ายพัฒนาสุขภาพของเยาวชน (สปรส. ภาคเหนือ) 10.เครือข่ายเยาวชนคนไร้รัฐ สภาเด็กและเยาวชน 11. ภาคีพูนพลังเยาวชน:เครือข่ายสภาเด็กและเยาวชน (จ.อุบลฯ นนทบุรี เชียงใหม่ และตรัง) 12. สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย 13. เครือข่ายเยาวชนเพื่อการปฏิรูป ประเด็น 4: เยาวชนรักษ์สิ่งแวดล้อม 14. ภาคีพูนพลังเยาวชน : ต้นกล้าในป่าใหญ่ (ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า-RECOFTC) และเครือข่ายเยาวชนป่าชุมชน 20 กลุ่ม 15. โครงการรางวัลลูกโลกสีเขียว (ปตท.) 16.สมาคมสร้างสรรค์ไทย (โครงการตาวิเศษ)

Impact 4 ด้าน จากการดำเนินโครงการมหกรรมเยาวชนครั้งที่ 2 12/29/09 เปิดพื้นที่ทางสังคม เสริมพลังเยาวชน พัฒนาเครือข่าย พัฒนาคนทำงาน สื่อสร้างการเรียนรู้ ถอดบทเรียนสังเคราะห์องค์ความรู้ ขอเสนอนโยบายการพัฒนาเยาวชน หนังสือรายงานศักยภาพเยาวชนไทยประจำปี ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการดำเนินการ พัฒนาเครือข่ายองค์กร / พัฒนาคน เปิดพื้นที่ทางสังคม / เสริมพลังเยาวชน ได้องค์ความรู้การพัฒนาเยาวชน และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สื่อสารสร้างการรับรู้และเรียนรู้ของสังคมในประเด็นที่เคียงข้างกับการพัฒนาเยาวชน 8

กรอบการดำเนินงาน กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 1 ประชุมร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อระดมความคิดเพื่อเตรียมจัดงานมหกรรมฯ 2 ประชุมองค์กรเจ้าภาพร่วมจัดงานมหกรรมฯ 3 ภาคีเครือข่ายแต่ละประเด็น/กลุ่ม เตรียมเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย และรูปแบบการจัดงานมหกรรมฯ 3 ภาคีเครือข่ายแต่ละประเด็น/กลุ่ม สรุปและส่งเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย และรูปแบบการจัดงานมหกรรมฯ 4 จัดทำกำหนดการ และตารางเวลาการจัดงานมหกรรมพลังเยาวชนฯ 5 ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ 6 จัดทำสื่อและเอกสารแจกในงานมหกรรมฯ

กรอบการดำเนินงาน (ต่อ) กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 7 รับสมัคร และจัดอบรมเตรียมอาสาสมัคร 8 จัดแถลงข่าว 9 เตรียมความพร้อม (คน, สถานที่, ที่พัก, อาหาร) 10 งานมหกรรมพลังเยาวชนฯ และสรุปงานมหกรรมพลังเยาวชน

สถานที่จัดงาน หอจดหมายเหตุ พุทธทาส อินทปัญโญ

ติดต่อกองเลขา กิตติรัตน์ ปลื้มจิตร โทร 02-5441258, 086-3005962 กิตติรัตน์ ปลื้มจิตร โทร 02-5441258, 086-3005962 E-mail: joepluemjit@yahoo.com,scbf_kittirat@scb.co.th อุบลวรรณ เสือเดช โทร 02-5446576, 089-1776592 E-mail: scbf_ubonwan@scb.co.th รัตนา กิติกร โทร 02-5445611, 081-9290540 E-mail: scbf_rattana@scb.co.th