จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เลขยกกำลัง.
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
เงิน.
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
เกม 4 ตัวเลือก นายธีรพงษ์ เค้าภูไทย เริ่มต้น.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ

เคล็ดลับการเขียนจำนวน

ล้านหมายถึงตามด้วยศูนย์ 6 ตัว ห้าร้อยล้านสองแสนหกพันห้าร้อยสามสิบเก้า 5 2 6 5 9 , 3 ,

หนึ่งแสนสามหมื่นล้านสี่ร้อยยี่สิบ 1 3 4 2 , , ,

กรณีหลักเท่ากันเช่นเทียบหลักล้านกับหลักล้านให้เรียงลำดับจากซ้ายไปขวา การเปรียบเทียบ กรณีหลักเท่ากันเช่นเทียบหลักล้านกับหลักล้านให้เรียงลำดับจากซ้ายไปขวา

> 2,546,987 2,546,897 9 มากกว่า 8

การประมาณค่าใกล้เคียงจำนวนเต็ม

จงประมาณค่าใกล้เคียงจำนวนเต็มสิบของ 9 9, 5 6 8 7 หลักสิบ

ค่าประมาณใกล้เคียงของเลขโดดที่ขีดเส้นใต้มีค่าต่างกันเท่าใด 2 ,548 ,793 3,000,000 - 9,000

การบวก ลบ คูณ หารให้ใช้วิทยายุทธการคิดเลขเร็วตามที่ได้เรียนมาให้เกิดประโยชน์นะครับ

จบการทบทวนบทที่ 1

สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย = บทที่ 2 สมการและการแก้สมการ สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย =

ถ้าเป็นเครื่องหมายอื่นๆ ได้แก่ > , < , ≠ เราจะเรียกว่า อสมการ นะครับ

11 x 12 = 100 สมการ อสมการ 7 x 12 > 10

สมการแบ่งเป็น 2 กรณี 1.สมการที่เป็นจริง เช่น 40 x 60 = 60 x 40 2. สมการที่เป็นเท็จ เช่น 100 - 7 = 7 - 100

การแก้คำตอบของสมการ 1. ใช้หลักการเท่ากันของการบวก ลบ คูณ หาร 2. ใช้วิธีการย้ายข้าง สมการ

การใช้สมบัติเท่ากัน เราจะนำตัวเลขเดิมเครื่องหมายตรงข้ามมาหักล้างจำนวน เพื่อทำให้ตัวแปรโดดเดี่ยว

จ ÷ 9 = 10 พิจารณา จ ÷ 9 x 9 = 10 X 9 x 9 จ = 90 ใช้สมบัติเท่ากัน จ = 90 ใช้การย้ายข้าง

แนวคิดการแก้โจทย์ปัญหา กรณีโจทย์นั้นเป็นการเพิ่มจำนวนจะเป็นการบวก เช่น ซื้อมาเพิ่ม

กรณีเพิ่มแบบทวีคูณจะเป็นการคูณ เช่น ซื้อส้ม 20 กิโลกรัม กิโลกรัมละ ค บาท

กรณีโจทย์เป็นการหายไปในครั้งเดียวจะเป็นลบ เช่น ปักลงไปในดิน หรือ ขายไป , ปลูกไปแล้ว

กรณีเป็นการแบ่งให้เท่าๆ กัน จะเป็นการหาร เช่น การเฉลี่ย การแบ่งเงินให้น้อง 3 คนๆละเท่าๆ กัน

กรณีที่เป็นโจทย์ไม่กำหนดตัวแปรให้เรากำหนดเอง โดยกำหนดสิ่งที่โจทย์ถามเป็นตัวแปร 1 ตัว

เช่น 25 เท่าของเงินจำนวนหนึ่งคิดเป็น 1500 บาทจงหาเงินจำนวนนั้น วิธีคิด กำหนดให้เงินจำนวนนั้นเป็น x บาท

25เท่าของ คือ25คูณ ประโยคสัญลักษณ์จะได้ 25X = 1500 การแก้สมการใช้วิธีย้ายจากคูณไปหาร

จบการทบทวนบทที่ 2

บทที่ 3 ตัวประกอบของจำนวนนับ ตัวประกอบของ 8 ได้แก่ 8 1 2 4 สังเกตการจับคู่

เมื่อเราสังเกตจากการจับคู่จะทำให้ได้ตัวประกอบครบถ้วนครับลองอีกตัวอย่าง

จงหาตัวประกอบของ 50 1 2 5 10 25 50 ทุกตัวจะมีคู่ครบพอดี

จำนวนเฉพาะ คือ จำนวนที่ไม่มีอะไรหารลงตัวนอกจาก 1 และ ตัวมันเอง เช่น 2 3 5 7 ...

จะเห็นว่า 2 เป็นเลขคู่ตัวเดียวที่เป็นจำนวนเฉพาะนะครับ

ตัวประกอบเฉพาะคือ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ เช่น ตัวประกอบของ 8 ได้แก่ 1 2 4 8 แต่ตัวประกอบเฉพาะคือ 2 เท่านั้น

การแยกตัวประกอบ ให้เขียนในรูปการคูณตัวประกอบเฉพาะ เช่น 2 x 2 x 4 2 x 2 16 = 4 = 24

กรณีที่ตัวเลขเยอะให้เอาจำนวนที่หารลงมาหารก่อนเพื่อลดจำนวนจะทำให้ง่ายขึ้น

ตัวหารร่วม(เฉยๆ) เป็นการหาจำนวนที่มีตัวประกอบตัวเดียวกันในหนังสือหน้า 66

การหาตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม) วิธีหาตัวประกอบ วิธีแยกตัวประกอบ วิธีตั้งหารสั้น

ตัวคูณร่วม(เฉยๆ) เป็นการหาพหุคูณ ไม่ต่างกับการท่องสูตรคูณ เปิดหนังสือหน้า 71 ครับ

การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น) วิธีหาตัวประกอบ วิธีแยกตัวประกอบ วิธีตั้งหารสั้น

ข้อแตกต่าง การแยกตัวประกอบ ห.ร.ม เอาเฉพาะตัวที่ซ้ำกันทั้งหมด ค.ร.น ซ้ำ 2 จำนวนขึ้นไปก็เอามา 1 ที่เหลือก็เอาหมดบอกแล้ว เหมา เหมา

2. การตั้งหารสั้น ถ้าเป็นห. ร 2. การตั้งหารสั้น ถ้าเป็นห.ร.ม ต้องหารลงทุกจำนวนจะใช้หรือไม่ใช้จำนวนเฉพาะหารก็ได้ แต่เวลาตอบเอาเฉพาะเลขด้านข้าง

ส่วน ค.ร.น หารได้สองจำนวนขึ้นไปโอเค ไม่ต้องลงหมดทุกจำนวนแต่ต้องใช้จำนวนเฉพาะเท่านั้น เวลาตอบ เหมา เหมา อย่าลืม

โจทย์ปัญหาลักษณะโจทย์ ห. ร โจทย์ปัญหาลักษณะโจทย์ ห.ร.ม หารร่วมมากคือการแบ่งใส่ถุงเท่าๆ กัน การตัดแบ่งเท่าๆ กัน

เปิดหนังสือหน้า 78

ลักษณะโจทย์ ค.ร.น จะเป็นการถามหาเวลาที่จะเจอกันอีกครั้ง เช่น นาฬิการจะตีพร้อมกันอีกครั้งเมื่อใด รถจะออกพร้อมกันอีกเมื่อใด

จบการทบทวนบทที่ 3

บทที่ 4 มุมและส่วนของเส้นตรง เรื่องนี้ไม่ยากเปิดหนังสือหน้า 79 ให้นักเรียนดูเรื่องการเรียกชื่อมุม และชนิดของมุมครับ

บทที่ 5 เส้นขนาน การพิสูจน์เส้นขนานมี 3 วิธี ระยะห่างเท่ากัน มุมแย้งเท่ากัน

3. มุมภายในที่อยู่ข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันได้ 180 องศา ตัวอย่างเช่น

บทที่ 6 ทิศและแผนผัง