สื่อสารเกี่ยวกับโครงการ การพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล: ระยะที่ 1 การประเมินเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน มหาวิทยาลัยมหิดล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสูตร เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อสารเกี่ยวกับโครงการ การพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล: ระยะที่ 1 การประเมินเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อนำเสนอ รายละเอียดโครงการ หลักการประเมินที่ใช้ (360 องศา) กระบวนการดำเนินโครงการ การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา การรักษาความลับ แผนการดำเนินงาน

dk โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล คนสำคัญที่ทำให้วิสัยทัศน์ของมหิดลเป็นจริงได้คือ … dk โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล วิสัยทัศน์: มหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งมั่นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก ผู้บริหารทุกคนของมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเตรียมพร้อมผู้บริหารของเราให้พร้อมนำพามหิดลสู่การเป็น มหาวิทยาลัยระดับโลก เราจึงริเริ่ม… โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล (ระยะที่ 1: การประเมินผลเพื่อวางแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน) ระบุคุณลักษณะของผู้บริหาร การประเมินผู้บริหาร 360 องศา พัฒนาความสามารถผู้บริหาร ให้ข้อมูลป้อนกลับรายบุคคล ผู้บริหารกำหนดแผนการพัฒนาตนเอง ดำเนินการพัฒนาตามแผน มุมมองท่านอธิการบดี วัฒนธรรมองค์กร สมรรถนะหลัก ผู้บริหารของมหิดลต้องมีความสามารถอย่างไร สมรรถนะทางการบริหาร รู้จุดแข็ง รู้จุดควรพัฒนา

โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล รายละเอียดโครงการ โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล จุดประสงค์: เพื่อเตรียมผู้บริหารให้พร้อมในการนำพาให้มหิดลบรรลุวิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งมั่นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก” ขอบเขต: ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 55 ท่าน รองอธิการบดี 11 ท่าน ผู้บริหารส่วนงาน 34 ท่าน ผู้อำนวยการกอง 10 ท่าน ประโยชน์: ผลการประเมิน 360 องศา ของผู้บริหารแต่ละท่าน อันประกอบด้วย จุดแข็ง และจุดที่ควรพัฒนาให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น นำไปสู่การกำหนดแผนการพัฒนาตนเองของผู้บริหารแต่ละท่าน และแผนการพัฒนาผู้บริหารของมหิดลในภาพรวม  พัฒนาต่อตามแผน

หลักการการประเมิน 360 องศา แนวทางการกำหนดผู้ประเมิน กลุ่มเพื่อนร่วมงาน: ประสานงาน/ทำงานร่วมกันใกล้ชิด กับผู้ถูกประเมิน มีโอกาสได้รับรู้/เห็นผลงานของผู้ถูก ประเมิน มีตำแหน่งในระดับชั้นเดียวกัน กลุ่มผู้ใต้บังคับบัญชา: ควรคัดเลือกให้มีองค์ประกอบที่สมดุลใน ด้านเพศ, อายุ, ระดับผลการปฏิบัติงาน, ระดับการศึกษา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง จำนวนผู้ประเมินในกลุ่มต่างๆ ผู้บังคับบัญชา 1-2 ท่าน เพื่อนร่วมงาน 3-5 ท่าน ผู้ใต้บังคับบัญชา 5-7 ท่าน

หลักการการประเมิน 360 องศา ข้อดีของการประเมิน 360 องศา เป็นการเปิดรับข้อมูล/ความเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมในการบริหารจาก หลากหลายมุมมอง ผลมีความเป็นกลาง และเที่ยงตรง กว่าการประเมินจากมุมมองใด มุมมองหนึ่ง ช่วยเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร การให้ Feedback ต่อกันและกัน และการเปิดรับระบบการประเมิน ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง

กระบวนการดำเนินโครงการ ออกแบบแบบประเมิน 360 องศา กจ. จะส่งแบบเสนอรายชื่อผู้ประเมินให้ท่านทาง Email โปรดกรอกส่งคืนภายใน วันพุธที่ 4 มิถุนายน สื่อสารขอความร่วมมือ ผู้เข้าร่วมโครงการเสนอชื่อผู้ประเมิน ผู้ดำเนินงานสุ่มชื่อ ใช้แบบประเมินกระดาษ ผู้ประเมินนำกระดาษคำตอบที่กรอกแล้วใส่ซองเดิม/ผนึกซอง อธิการบดีเป็นผู้ถือกุญแจตู้ APM รับซองจากอธิการบดี โดยตรงเพื่อใช้ประมวลผล จัดประชุมชี้แจงการกรอกแบบประเมิน สำหรับกลุ่ม 55 ท่าน จัดประชุมเพื่อกรอกแบบประเมินสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชาของกลุ่ม 55 ท่าน ผู้ประเมินกลุ่ม 55 ท่าน นำไปกรอกและหย่อนใส่ตู้ ประมวลผล/ทำรายงานส่วนบุคคล APM ให้ข้อมูลป้อนกลับส่วนบุคคล + แนะนำการทำแผนพัฒนา

การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้เข้าร่วมโครงการ: เสนอชื่อผู้ประเมินจากกลุ่มผู้ใต้บังคับบัญชาของตนจำนวนครึ่งหนึ่งจากทั้งหมด ผู้ดำเนินโครงการ: สุ่มเหลือ 5-7 ชื่อ กรณีมีผู้ใต้บังคับบัญชาในกลุ่มรองคณบดีและหัวหน้าภาคฯ ชื่อที่เสนอมาจากครึ่งหนึ่งของแต่ละกลุ่ม สุ่มกระจายตัวตามสัดส่วนระหว่างจำนวนผู้ใต้บังคับบัญชาในกลุ่มรองคณบดีและหัวหน้าภาคฯ

การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ดำเนินโครงการ: สุ่มเหลือ 3-5 ชื่อ ตามสัดส่วนรองอธิการบดี: คณบดี/ผอ.กอง 1:4 ผู้เข้าร่วมโครงการ: เสนอชื่อผู้ประเมิน 10 ชื่อ (ระดับรองอธิการบดี 2 ชื่อ คณบดี/ผอ.กอง 8 ชื่อ*) หมายเหตุ: * มหิดลมีจำนวนรองอธิการบดี : คณบดี/ผอ.กอง = 11: 44 ~ 1:4

การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็นรองอธิการบดี 11 ท่าน: ประเมินโดยอธิการบดี ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็น ผอ.กอง 10 ท่าน: ประเมินโดยรองอธิการบดีที่กำกับดูแล ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็น ผู้บริหารส่วนงาน 34 ท่าน: ขอหารือ ทางเลือก 1: ประเมินโดยอธิการบดีท่านเดียว ทางเลือก 2: ประเมินโดยอธิการบดีและรองอธิการบดี ทางเลือก 1: ประเมินโดยอธิการบดี ทางเลือก 2: ประเมินโดยอธิการบดีและรองอธิการบดี ข้อดี เป็นผู้บังคับบัญชาโดยตรง รับรู้การทำงานของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งภาพ ข้อเสีย เป็นภาระต่อท่านอธิการบดี ข้อดี ลดภาระของท่านอธิการบดี ข้อเสีย อาจรับรู้การทำงานของผู้เข้าร่วมโครงการเพียงบางด้าน/เรื่อง

ค่าเฉลี่ย เพื่อนร่วมงาน ค่าเฉลี่ยผู้ใต้บังคับบัญชา การรักษาความลับ ความลับของผู้ประเมิน ผลการประเมินสรุปเป็นรายกลุ่มผู้ประเมิน: เพื่อนร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้บังคับบัญชา ไม่มีการแสดงชื่อหรือสืบกลับได้ว่าเป็นความเห็นของผู้ประเมินคนใด ไม่ว่ากรณีใดๆ ความลับของผู้ถูกประเมิน/ผลการประเมิน รายงานผลการประเมินรายบุคคลมีเพียงท่าน และอธิการบดีเท่านั้นที่ทราบ APM เป็นบริษัท Professional ที่ทำการประเมิน 360 องศา ให้กับองค์กรภาครัฐ/เอกชน ใหญ่/เล็ก ซึ่งการรักษาความลับของบุคลากรเป็นปณิธานสูงสุดของเรา ข้อมูลการประเมินทั้งหมดเก็บในไฟล์ที่มีการคุ้มกันความปลอดภัยเป็นอย่างดี การยึดมั่นในคุณธรรม ตนเอง ผู้บังคับ บัญชา ค่าเฉลี่ย เพื่อนร่วมงาน ค่าเฉลี่ยผู้ใต้บังคับบัญชา ค่าเฉลี่ยผู้อื่น แสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาชีพอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา 3.00 6.00 4.80 มีสัจจะ ทำตามสิ่งที่ยึดถือและพันธสัญญาที่ท่านให้ไว้กับผู้อื่น และทำทุกวิถีทางเพื่อรักษาคำพูดของท่าน 4.00 3.80

แผนการดำเนินงาน 1 ออกแบบแบบประเมิน 360 องศา APM 1 สัปดาห์ 2 กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม 18 - 22 25-29 1 - 5 8 -12 15 - 19 22 - 26 29 - 30 1 - 3 6 - 10 13- 17 1 ออกแบบแบบประเมิน 360 องศา APM 1 สัปดาห์ 2 สื่อสารขอความร่วมมือ มหิดล/APM 3 ผู้เข้าร่วมโครงการเสนอชื่อผู้ประเมิน มหิดล 4 จัดประชุมกรอกแบบประเมิน + รวบรวมจนครบ 2 สัปดาห์ 5 ประมวลผล/จัดทำรายงาน 6 ให้ข้อมูลป้อนกลับรายบุคคล

เกณฑ์การประเมิน 360 องศา การมองภาพองค์รวม + การตัดสินใจ Altruism การดำเนินการเชิงรุก + การตัดสินใจ + การวิเคราะห์ +การแก้ปัญหา การวางแผนงานอย่างเป็นระบบ Determination การมุ่งผล สัมฤทธิ์ ศิลปะการสื่อสารจูงใจ ความรับผิดชอบในงาน การแก้ปัญหาและตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบและมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ศักยภาพเพื่อนำ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การแสดงบทบาท ผู้นำทีมที่ผู้อื่นยินดีปฏิบัติตาม การยึดมั่นในคุณธรรม วิสัยทัศน์และการมุ่งเน้นกลยุทธ์ การพัฒนาศักยภาพบุคคล การสื่อสารอย่างมีศิลปะและจูงใจ Originality + เครือข่าย Harmony ศักภาพที่นำการปรับเปลี่ยน การพัฒนาศักยภาพคน + การพัฒนาปรับ ปรุงอย่างต่อเนื่อง Leadership Integrity การให้อำนาจแก่ผู้อื่น ความเป็นผู้นำ ความยึดมั่นในคุณธรรม การทำงาน เป็นทีม Values Mastery Core Competency การควบคุมตนเอง การมีวิสัยทัศน์ การคิดเชิง กลยุทธ์ Managerial Competency 360 Feedback Criteria