“Angiographic Patient's safety”
การตรวจ Angiogram ถือเป็นหัตถการทางรังสีวินิจฉัย ที่มีการตรวจที่ซับซ้อน ยุ่งยาก และเป็น semi-invasive โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนมีได้ตลอดทุกขั้นตอนนับตั้งแต่การเตรียมตัวตรวจ จนถึง การดูแลภายหลังเสร็จสิ้นการตรวจ
จุดมุ่งหมาย ให้การตรวจ angiography มีความสำเร็จ 100 % ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากการตรวจ ใช้อุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ
Arteriographic complications Puncture site Hematoma / Dissection/Thrombosis Pseudoaneurysm/AVF Infection Systemic Allergic contrast reaction Nausea ,vomiting, vasovagal syncope Catheter induced Subintimal tear
Classification of Complications by Outcome Minor complications No therapy, no consequence Nominal therapy, overnight admission for observation only Major complications Require therapy,hospitalization <48 hrs. Require major therapy, unplanned increase in level of care,prolonged hospitalization >48 hrs. Permanent adverse sequelae Death
ANALYSIS of QUALITY IMPROVEMENT Important processes of care Patient selection Performance of procedure Monitoring the patient Management of material utility Reused materials Sterile procedure
ระดับปฏิบัติ หาสถิติผู้ป่วยที่เกิด complication จากที่ผ่านมาและ review literature ค้นหาปัจจัยเสี่ยงและวางแผนดำเนินการจัดการ กำหนดใช้ตัวดัชนีชี้วัด มีการบันทึก รวบรวมสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูล มีการวางแผน และหารือร่วมกัน เพื่อป้องกันปัญหา (Interdepartmental and MM conferences)
แนวทางปฏิบัติ มีการ Assessment หรือประเมินอาการของผู้ป่วยก่อนทำการตรวจ โดยแพทย์/พยาบาลด้วยการสัมภาษณ์ หรือโทรศัพท์ โดยใช้แบบฟอร์ม check list ก่อนการตรวจ มีการปรับปรุง Nursing recording form เพื่อใช้บันทึกข้อมูล/อาการ ผู้ป่วยในระหว่างการตรวจ – หลังการตรวจเสร็จสิ้น และใช้บันทึกร่วมกับ interventional record ของแพทย์ และมีสำเนาสำหรับหอผู้ป่วยเพื่อดูแลต่อเนื่อง มีแบบฟอร์ม การลงรายการวัสดุที่ใช้เพื่อนำไปคิด Unit cost มีแบบบันทึกภาวะแทรกซ้อนสำหรับ ผู้ป่วยทุกราย
แนวทางปฏิบัติ (ต่อ) มีข้อกำหนด ในการปฏิบัติงาน ระหว่างทีมดูแลผู้ป่วย มีการ follow up ผู้ป่วย 24 ชั่วโมงหลังการตรวจ กำหนดการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการทำความสะอาดและดูแล เครื่องมือ ที่เป็นมาตรฐานโดย มีพยาบาลกำกับดูแล กำหนดให้มีการจัด conference ภายหลังการเกิด major complication มีระบบการประสานงานระหว่างรังสีแพทย์ แพทย์เจ้าของไข้ และวิสัญญี แพทย์ รังสีเทคนิค และพยาบาล
Check list สำหรับประเมินอาการผู้ป่วย patient grading ผู้ป่วย เดินได้ ช่วยเหลือตัวเองได้ พูด-ตอบคำถามได้ดี ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้เล็กน้อย ต้องช่วยพยุง พูด-ตอบคำถามได้ดี ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เลย ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ตอบสนองต่อคำสั่ง * ผู้ป่วยวิกฤต ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เลย มีเครื่องช่วยหายใจ เจาะคอ มีการให้สารน้ำ-เลือดทางหลอดเลือด ไม่รู้เรื่อง **
Universal standard Indicators อัตราการเกิด Major Complication < 1 % อัตราการเกิด Minor Complication < 10 % อัตราผู้ป่วยได้รับการ follow up 24 ชั่วโมงหลังการตรวจ >80%
Perfected VIR care team Multidisciplinary team agreement CPG Patient counseling system Perfect data recording and analysis
REFERENCES ACR STANDARDS Diagnostic Arteriography Standard of Practice Committee of the Society of Interventional Radiology.Standard for diagnostic arteriography in adults.J Vasc Interv Radiol 2002
Thank you