ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
รหัส หลักการตลาด.
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
MK201 Principles of Marketing
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
กลไกราคากับผู้บริโภค
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 1 : บทนำ.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
Integrated Marketing Communication
การวางแผนกำลังการผลิต
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่1 การบริหารการผลิต
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics Mr.Natthapart

ลัทธิคลาสสิคใหม่ หรือ Cambridge School เกิดขึ้นลังจากลัทธิคลาสสิคประมาณ 114 ปี(1890) ผู้นำลัทธิคือ Marshall เป็นการอธิบายทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์และสถิติ เน้นการวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจที่แยกเป็น 2 ทาง คือ การวิเคราะห์ดุลยภาพบางส่วน และดุลยภาพทั่วไป ใช้หลักการอนุมาณ ในการพัฒนาทฤษฎี นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญได้แก่ Alfred Marshall(1842 – 1924) J.B.Clark, Irving Fisher , Marie Espit I’eon Walras , Vifredo F.D. Pereto , Authur cecil Pigou

ข้อแตกต่างของลัทธิคลาสสิคใหม่กับลัทธิคลาสสิค ทฤษฎีราคา(มูลค่า) คลาสสิค แบ่งมูลค่าออกเป็น มูลค่าการใช้งานและมูลค่าการแลกเปลี่ยน คลาสสิคใหม่ เห็นว่าราคาถูกกำหนดด้วยดุลยภาพของอุปสงค์กับอุปทาน ซึ่งต่างฝ่ายจะยึดประโยชน์สูงสุดของตนเอง การแบ่งสรรรายได้ คลาสสิค แบ่งสรรรายได้เป็น ดอกเบี้ย ค่าเช่า กำไร และค่าจ้าง คลาสสิคใหม่ กำหนดการแบ่งสรรรายได้ว่าควรจะกำหนดอย่างไร เท่าไร ลัทธิการมองในแง่ร้าย(Pessimism) Ricardo และ Maithus อธิบายกฎประชากร ในแง่ร้าย คลาสสิคใหม่ มองว่าประชากรเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ นำไปสู่การพัฒนาประเทศ

ทฤษฎีตลาดของ Say Say : อุปทานสร้างอุปสงค์ คลาสสิคใหม่ ในระยะสั้นไม่เกิดขึ้น แต่ในระยะยาวอาจเกิดขึ้นได้

Alfred Marshall(1842 – 1924) ทฤษฎีการกำหนดอุปทานและอุปสงค์ อธิบายถึงความเกี่ยวข้องด้านเวลา แบ่งออกเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะเพียงชั่วครู่ (momentary chang) ระยะสั้น(short run chang) ระยะยาว(long run chang) ทฤษฎีส่วนเกินผู้บริโภค(Consumer’s surplus)

ส่วนเกินของผู้บริโภค ราคา ปริมาณ a b P1 A Q1 P ส่วนเกินผู้บริโภคต่อหน่วย = ส่วนที่ผู้บริโภครับ MU – P Δ ABP1 = 0P1AQ1 – oPAQ1

ส่วนเกินที่ผู้บริโภคได้รับ มูลค่าทางสวัสดิการ(welfare value) ความพอใจสูงสุดที่เรามีกับสินค้านั้นหรือจะเรียนประโยชน์ที่เพิ่มเข้ามานั่นเอง(MU) ราคาที่ผู้ขายตั้งไว้สูงกว่าเป็นจริงแล้ว ยอมลดให้ผู้ซื้อ

ความยืดหยุ่น(elasticity การยืดหยุ่นได้แก่ เปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลงในปริมาณที่มีผู้ต้องการซื้อหารด้วยเปอร์เซ็นต์ของการเปลี่ยนแปลงของราคา

Irving Fisher ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน(Equation of Exchange) MV + M’V’ = PT

J.B. Clark ทฤษฎีประสิทธิผลเพิ่ม (Marginal Productivity Theory in Distribution) ประสิทธิผลเพิ่มเพิ่มเป็นตัวกำหนดมูลค่าของปัจจัยการผลิตคนงานเพิ่ม เป็นผู้กำหนดค่าจ้างมาตรฐาน