บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
การเลือกคุณภาพสินค้า
การขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ นโยบาย ลู่ทาง และโอกาส 22 พฤษภาคม 2552
Priciples of Marketing
Lesson 11 Price.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
MARKET PLANNING DECISION
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด สามเหลี่ยมอันดามัน
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
เอกสารเรียนวันที่ 17 มกราคม 2555 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
การเร่งโครงการ Expedite Project.
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ความเชื่อมโยงระหว่างกันใน BIMSTEC -ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์-
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล

ประเด็นบทที่ 9 ลักษณะของปัญหาการขนส่ง บทบาทของการขนส่ง ประเด็นบทที่ 9 ลักษณะของปัญหาการขนส่ง บทบาทของการขนส่ง การวิเคราะห์อุปสงค์การขนส่ง วิธีการวัดผลผลิตของการขนส่ง การแก้ปัญหาการขนส่ง

การขนส่งสินค้า (Transportation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับการแจกแจงทรัพยากรต่างๆ ไปยังแหล่งที่เป็นจุดมุ่งหมายซึ่งได้กำหนดไว้ โดยการขนส่งดังกล่าวต้องมีประสิทธิภาพที่สุด ลักษณะของการขนส่งสินค้า เหมือนกับปัญหาการจัดสรรทรัพยากร แตกต่างกันที่การขนส่งสินค้า สามารถมีแหล่งทรัพยากรหลายแหล่ง และสามารถมีจุดหมายหลายแหล่ง

บทบาทของการขนส่งสินค้า ด้านต้นทุนการผลิต การสนับสนุนการผลิต สนับสนุนการตลาด ได้แก่ ราคา , ผลิตภัณฑ์ , การส่งเสริมตลาด และช่องทางจำหน่าย สนับสนุนมูลค่าเพิ่มของสินค้า ได้แก่ สินค้าและบริการ(form utility) , สถานที่(place utility) , เวลา(time utility) , ความเป็นเจ้าของ (possession utility) สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า

กรุงเทพฯ คุนหมิง ฮานอย ทะเลจีนใต้ ย่างกุ้ง พนมเปญ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ลาเซียว จิงหง มัณฑะเลย์ เชียงตุง ฮานอย ท่าขี้เหล็ก ไฮฟอง แม่สาย ทะเลจีนใต้ เชียงใหม่ วินห์ เวียงจันทน์ ย่างกุ้ง เมียวดี แม่สอด เมาะละแหม่ง ดานัง พญาตองซู เจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี ทวาย กรุงเทพฯ บ๊กเปี้ยน พนมเปญ ทะเลอันดามัน บางสะพาน โฮจิมินห์ ซิตี้ เกาะสอง ระนอง อ่าวไทย ภูเก็ต สงขลา

สรุปลักษณะของปัญหาการขนส่ง จำนวนแหล่งทรัพยากร(ต้นทาง)ไม่จำเป็นต้องเท่ากับจุดหมาย(ปลายทาง) โดยที่ไม่ต้องมีจำนวนสินค้าเท่ากันก็ได้ แหล่งทรัพยากร(ต้นทาง)หนึ่งแหล่ง ไม่จำเป็นต้องเท่ากับจุดหมาย(ปลายทาง) โดยที่ไม่ต้องมีจำนวนสินค้าเท่ากันก็ได้ ลักษณะของการปัญหาการขนส่งจะแสดงในรูปของตารางการขนส่ง ที่แสดงจำนวน(อุปทาน) แหล่งทรัพยากร(ต้นทาง) และแสดงจำนวนความต้องการ(อุปสงค์) กับแหล่งทรัพยากรปลายทาง

ตัวอย่าง

วิธีการหาผลเฉลย วิธีการพิจารณามุมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือวิธีการมุมพายัพ (the northwest-corner method) วิธีการแถวนอนเหนือไปใต้ (North to South Row Method) วิธีประมาณการแบบโวลเกล (Vogel’ approximation method) วิธีประมาณการแบบรัสเชลล์ (Russell’s approximation method) วิธีลัด (the shortcut method)

วิธีการพิจารณามุมตะวันตกเฉียงเหนือ (the northwest-corner method) เริ่มการคำนวณที่ช่องมุมซ้ายมือสุด (i=1,j=1) กำหนดจำนวนสินค้าที่จะส่งในช่องทางนี้ = max(xi,xj) (มากที่สุด จัดสรรได้) หักจำนวนสินค้าที่จัดสรรแล้วออกจากค่า xi,xj ถ้า xi เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านขวามือ ถ้า xj เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านล่าง กลับไปต่อข้อถัดไป

200 100 200 150 250

ตอบ

วิธีการพิจารณาแถวนอนเหนือไปใต้ (North to South Row Method) เริ่มการคำนวณที่แถวนอนที่ 1 (i=1,j=1) กำหนดจำนวนสินค้าที่จะส่งในช่องทางนี้ = max(xi,xj) (มากที่สุด จัดสรรได้) หักจำนวนสินค้าที่จัดสรรแล้วออกจากค่า xi,xj ถ้า xi เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านขวามือ ถ้า xj เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านล่าง กลับไปต่อข้อถัดไปทะแยงทางใต้

200 100 150 50 200 200

ตอบ

วิธีประมาณการแบบโวลเกล(Vogel’ approximation method) นำค่าใช้จ่ายที่ต่ำที่สุดลบค่าใช้จ่ายในแต่ละเส้นทางของทั้งแถวนอนและแถวตั้ง เลือกแถวนอนหรือแถวตั้งที่มีผลต่างสูงที่สุด กำหนดจำนวนสินค้าที่จะส่งในช่องทางนี้ = max(xi,xj) (มากที่สุด จัดสรรได้) หักจำนวนสินค้าที่จัดสรรแล้วออกจากค่า xi,xj -ถ้า xi เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านขวามือ ถ้า xj เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านล่าง หรือบน กลับไปเริ่มต้นใหม่

300 200 150 250

ตอบ

วิธีประมาณการแบบรัสเชลล์ (Russell’s approximation method) พิจารณาหาค่าต้นทุนการขนส่งที่สูงที่สุด ของแถวตั้งและแถวนอน ต้นทุนการขนส่งเดิม – ผลรวมของค่าต้นทุนที่สูงที่สุดในแถวตั้งและแถวนอน จัดสรรการขนส่งในจำนวนที่มากที่สุด ลงในช่องที่การขนส่งซึ่งมีค่าขนส่งที่สูงที่สุด จัดสรรการขนส่งสินค้าใหม่ จากจำนวนสินค้าที่เหลืออยู่ ตามขั้นที่ 3 ใหม่

300 200 150 250

ตอบ

วิธีลัด (the shortcut method) เกิดจากวิธีการพิจารณามุมตะวันตกเฉียงเหนือ ไม่ได้นำเอาเป้าหมายมาพิจารณาร่วมดัวย หลักการของวิธีลัด คือ การนำเป้ามาพิจารณาจัดสรรการขนส่งร่วม อาทิ เป้าหมาย max จะพิจารณาจัดสรรการขนส่งในช่องการขนส่งที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเป้าหมาย max เป้าหมาย min จะพิจารณาจัดสรรการขนส่งในช่องการขนส่งที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเป้าหมาย min

300 200 200 150 50 เป้าหมายเป็น Maximun

ตอบ

150 150 100 100 100 300 เป้าหมายเป็น Minimun

ตอบ