บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล
ประเด็นบทที่ 9 ลักษณะของปัญหาการขนส่ง บทบาทของการขนส่ง ประเด็นบทที่ 9 ลักษณะของปัญหาการขนส่ง บทบาทของการขนส่ง การวิเคราะห์อุปสงค์การขนส่ง วิธีการวัดผลผลิตของการขนส่ง การแก้ปัญหาการขนส่ง
การขนส่งสินค้า (Transportation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับการแจกแจงทรัพยากรต่างๆ ไปยังแหล่งที่เป็นจุดมุ่งหมายซึ่งได้กำหนดไว้ โดยการขนส่งดังกล่าวต้องมีประสิทธิภาพที่สุด ลักษณะของการขนส่งสินค้า เหมือนกับปัญหาการจัดสรรทรัพยากร แตกต่างกันที่การขนส่งสินค้า สามารถมีแหล่งทรัพยากรหลายแหล่ง และสามารถมีจุดหมายหลายแหล่ง
บทบาทของการขนส่งสินค้า ด้านต้นทุนการผลิต การสนับสนุนการผลิต สนับสนุนการตลาด ได้แก่ ราคา , ผลิตภัณฑ์ , การส่งเสริมตลาด และช่องทางจำหน่าย สนับสนุนมูลค่าเพิ่มของสินค้า ได้แก่ สินค้าและบริการ(form utility) , สถานที่(place utility) , เวลา(time utility) , ความเป็นเจ้าของ (possession utility) สนับสนุนความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า
กรุงเทพฯ คุนหมิง ฮานอย ทะเลจีนใต้ ย่างกุ้ง พนมเปญ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ลาเซียว จิงหง มัณฑะเลย์ เชียงตุง ฮานอย ท่าขี้เหล็ก ไฮฟอง แม่สาย ทะเลจีนใต้ เชียงใหม่ วินห์ เวียงจันทน์ ย่างกุ้ง เมียวดี แม่สอด เมาะละแหม่ง ดานัง พญาตองซู เจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี ทวาย กรุงเทพฯ บ๊กเปี้ยน พนมเปญ ทะเลอันดามัน บางสะพาน โฮจิมินห์ ซิตี้ เกาะสอง ระนอง อ่าวไทย ภูเก็ต สงขลา
สรุปลักษณะของปัญหาการขนส่ง จำนวนแหล่งทรัพยากร(ต้นทาง)ไม่จำเป็นต้องเท่ากับจุดหมาย(ปลายทาง) โดยที่ไม่ต้องมีจำนวนสินค้าเท่ากันก็ได้ แหล่งทรัพยากร(ต้นทาง)หนึ่งแหล่ง ไม่จำเป็นต้องเท่ากับจุดหมาย(ปลายทาง) โดยที่ไม่ต้องมีจำนวนสินค้าเท่ากันก็ได้ ลักษณะของการปัญหาการขนส่งจะแสดงในรูปของตารางการขนส่ง ที่แสดงจำนวน(อุปทาน) แหล่งทรัพยากร(ต้นทาง) และแสดงจำนวนความต้องการ(อุปสงค์) กับแหล่งทรัพยากรปลายทาง
ตัวอย่าง
วิธีการหาผลเฉลย วิธีการพิจารณามุมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือวิธีการมุมพายัพ (the northwest-corner method) วิธีการแถวนอนเหนือไปใต้ (North to South Row Method) วิธีประมาณการแบบโวลเกล (Vogel’ approximation method) วิธีประมาณการแบบรัสเชลล์ (Russell’s approximation method) วิธีลัด (the shortcut method)
วิธีการพิจารณามุมตะวันตกเฉียงเหนือ (the northwest-corner method) เริ่มการคำนวณที่ช่องมุมซ้ายมือสุด (i=1,j=1) กำหนดจำนวนสินค้าที่จะส่งในช่องทางนี้ = max(xi,xj) (มากที่สุด จัดสรรได้) หักจำนวนสินค้าที่จัดสรรแล้วออกจากค่า xi,xj ถ้า xi เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านขวามือ ถ้า xj เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านล่าง กลับไปต่อข้อถัดไป
200 100 200 150 250
ตอบ
วิธีการพิจารณาแถวนอนเหนือไปใต้ (North to South Row Method) เริ่มการคำนวณที่แถวนอนที่ 1 (i=1,j=1) กำหนดจำนวนสินค้าที่จะส่งในช่องทางนี้ = max(xi,xj) (มากที่สุด จัดสรรได้) หักจำนวนสินค้าที่จัดสรรแล้วออกจากค่า xi,xj ถ้า xi เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านขวามือ ถ้า xj เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านล่าง กลับไปต่อข้อถัดไปทะแยงทางใต้
200 100 150 50 200 200
ตอบ
วิธีประมาณการแบบโวลเกล(Vogel’ approximation method) นำค่าใช้จ่ายที่ต่ำที่สุดลบค่าใช้จ่ายในแต่ละเส้นทางของทั้งแถวนอนและแถวตั้ง เลือกแถวนอนหรือแถวตั้งที่มีผลต่างสูงที่สุด กำหนดจำนวนสินค้าที่จะส่งในช่องทางนี้ = max(xi,xj) (มากที่สุด จัดสรรได้) หักจำนวนสินค้าที่จัดสรรแล้วออกจากค่า xi,xj -ถ้า xi เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านขวามือ ถ้า xj เหลือให้เลื่อนไปจัดสรรช่องต่อไปด้านล่าง หรือบน กลับไปเริ่มต้นใหม่
300 200 150 250
ตอบ
วิธีประมาณการแบบรัสเชลล์ (Russell’s approximation method) พิจารณาหาค่าต้นทุนการขนส่งที่สูงที่สุด ของแถวตั้งและแถวนอน ต้นทุนการขนส่งเดิม – ผลรวมของค่าต้นทุนที่สูงที่สุดในแถวตั้งและแถวนอน จัดสรรการขนส่งในจำนวนที่มากที่สุด ลงในช่องที่การขนส่งซึ่งมีค่าขนส่งที่สูงที่สุด จัดสรรการขนส่งสินค้าใหม่ จากจำนวนสินค้าที่เหลืออยู่ ตามขั้นที่ 3 ใหม่
300 200 150 250
ตอบ
วิธีลัด (the shortcut method) เกิดจากวิธีการพิจารณามุมตะวันตกเฉียงเหนือ ไม่ได้นำเอาเป้าหมายมาพิจารณาร่วมดัวย หลักการของวิธีลัด คือ การนำเป้ามาพิจารณาจัดสรรการขนส่งร่วม อาทิ เป้าหมาย max จะพิจารณาจัดสรรการขนส่งในช่องการขนส่งที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเป้าหมาย max เป้าหมาย min จะพิจารณาจัดสรรการขนส่งในช่องการขนส่งที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเป้าหมาย min
300 200 200 150 50 เป้าหมายเป็น Maximun
ตอบ
150 150 100 100 100 300 เป้าหมายเป็น Minimun
ตอบ