บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การเขียนผังงาน.
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
บทที่ 4 ทฤษฎีเกม Game Theory
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
Object-Oriented Analysis and Design
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตาม และประเมินโครงการ.
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
SCC : Suthida Chaichomchuen
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ระบบการผลิต ( Production System )
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารโครงการ (Project anagement)
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
การวิเคราะห์เนื้อหา.
Week 5 : การบริหารโครงการ
Week 6 : การบริหารโครงการ
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
การเร่งโครงการ Expedite Project.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Shortest-Path Algorithms
PERT/CPM.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
การเขียนโครงการ.
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
Controlling 1.
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล

ประเด็นบทที่ 11 - ความหมายของโครงการ - ลักษณะของปัญหา ประเด็นบทที่ 11 - ความหมายของโครงการ - ลักษณะของปัญหา - การบริหารโครงการ - การสร้าง PERT/CPM

การประเมินวิเคราะห์โครงการ (PERT) P = program or project or performance E = Evaluation R = Review T = Technique

CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต PERT คือ วิธีการที่ในการวิเคราะห์กระบวนการหรือกลไกการทำงานของโครงการ งาน หรือ แผนงาน ต่างๆ ซึ่งจะเป็นการควบคุม ลดความยุ่งยากและการทำงานซ้ำซ้อน CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต

CPM = Critical Path Method การพิจารณาสายงานวิกฤต อาศัยข่ายงาน (network) แสดงความสัมพันธ์ของงานต่างๆ ในโครงการที่มีตำแหน่งงานเป็นจุดรวมและจุดแยกของกลุ่มงานต่างๆ ข้อแตกต่างของ CPM และ PERT คือ CPM จะแสดงงานและระยะเวลาของงานที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต

ประโยชน์ของ PERT/CPM เพื่อช่วยในด้านการวางแผนโครงการ เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ

ทรัพยากรที่จำเป็นต่อการสร้าง PERT/CPM data ของงาน,โครงการ,องค์กร ลักษณะงาน ความเกี่ยวข้อง, ความเชื่อมโยงของงาน ผู้รับผิดชอบงาน อำนาจการตัดสินใจ เวลา และงบประมาณ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ความเกี่ยวข้องกับองค์กรภายนอก แนวคิดการกำหนดเกณฑ์การตัดสินใจ อาทิ efficiency , maximax maximin

สิ่งที่ต้องดำเนินการเพื่อการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ data ระบบ กระบวนการ และกลไก ความคิด (Concept) ปัจจัยเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Product) ความเชื่อมโยงของงาน (net work) ลำดับชั้นของงาน

สิ่งที่ต้องทราบในการสร้าง PERT สัญลักษณ์ ตำแหน่ง งานเสริมหรืองานจำลอง (dummy activity) ข้อควรระวัง สายงานต้องไม่มีการไหลย้อนกลับ node Dummy activity

วิธีการวิเคราะห์ PERT/CPM ES = earliest start (เวลาที่เร็วที่สุดที่จะเริ่มงานได้) EF = earliest finish (เวลาที่เสร็จสิ้นเร็วที่สุดของงาน) LS = Latest start (เวลาที่ช้าที่สุดที่จะเริ่มงานได้) LF = Latest finish(เวลาที่เสร็จสิ้นช้าที่สุดของงาน) FS = free slack (ระยะเวลาของงานที่จะล่าช้าได้โดยไม่มีผลกระทบต่องานอื่น) TS = total slack time (ระยะเวลารวมของงานที่จะล่าช้าได้โดยไม่มีผลของโครงการ) t = time (เวลาของงาน)

ขั้นตอนในการสร้าง PERT ความสำคัญ ของงาน งานหลัก การวิเคราะห์งาน ลักษณะงาน โครงการ ความเกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงของงาน เวลาที่ใช้ ของแต่ละงาน ลำดับของงาน ต้นทุนหรืองบประมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละงาน ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากรที่ใช้ การสร้างตาราง PERT งานรอง งานย่อย งานที่ไม่เกี่ยวข้อง

กรณีตัวอย่าง การทำวิจัย การวิเคราะห์งาน ลักษณะงาน ความเกี่ยวข้อง ความเชื่อมโยงของงาน เวลาที่ใช้ ของแต่ละงาน ลำดับของงาน ต้นทุนหรืองบประมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละงาน ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากรที่ใช้ การสร้างตาราง PERT

ลักษณะของ PERT แบบที่หนึ่ง A B D C E F G H I J 13 ลำดับงาน K L M

ลักษณะของ PERT แบบที่สอง A G B D E F I C H J 11 ลำดับงาน K L M

วิธีการวิเคราะห์ การกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด(Earliest Time) การกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด(Latest Time) การกำหนดงานวิกฤต

การกำหนดเวลาอย่างเร็วที่สุด(Earliest Time) เป็นการคำนวณหาว่าแต่ละกิจกรรมในโครงการจะเริ่มต้นทำงานได้เร็วที่สุด (ES) เมื่อใด และจะเสร็จอย่างรวดเร็วที่สุด(EF)ได้เมื่อใด โดยคำนวณจากจุดเริ่มต้นของโครงการจนสิ้นสุดโครงการ 4 A ES EF 4 6 B 2 ES EF 6 14 D 8 ES EF 14 18 E 4 ES EF เริ่มต้น 3 C ES EF

การกำหนดเวลาอย่างช้าที่สุด(Latest Time) เป็นการคำนวณหาเวลาในการดำเนินโครงการอย่างช้าที่สุดแล้วแต่ละกิจกรรมในโครงการจะเริ่มต้นทำงานได้เมื่อใด(LS) และจะแล้วเสร็จเมื่อใด (LF) โดยคำนวณจากจุดสิ้นสุดโครงการย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นโครงการ 4 A ES EF เริ่มต้น 3 1 C 6 B 2 14 D 8 18 E LS LF

การกำหนดงานวิกฤต การนำเวลาในการทำงานอย่างรวดเร็วที่สุดลบเวลาในการทำงานอย่างช้าที่สุด เพื่อกำหนดกิจกรรมวิกฤต ซึ่งก็คือการกำหนดเส้นทางที่เชื่อมต่อกิจกรรมวิกฤตเข้าด้วยกัน วิธีการกำหนดงานวิกฤต

การคำนวณข่ายงานแบบ PERT เป็นการวิเคราะห์ข่ายโครงการในด้านของเวลาและความเป็นไปได้ในการบริหารโครงการ ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้เร็วที่สุด(Optimistic time) : a ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้ช้าที่สุด(Pessimistic time) : b ระยะเวลาที่ทำกิจกรรมเสร็จได้เป็นส่วนมาก(most likely time) : m

ความน่าจะเป็นของโครงการ ทดสอบสมมติฐาน โอกาสในการที่จะเร่งรัดโครงการ H0 : สามารถเร่งรัดโครงการได้ Ha : ไม่สามารถเร่งรัดโครงการได้

การเร่งรัดโครงการ เป็นการจัดการโครงการที่ทำให้โครงการเสร็จได้เร็วขึ้น โดยอาจทำได้โดยการควบคุมงานวิกฤตให้เสร็จตามกำหนดหรือเร็วกว่ากำหนด โดยการเร่งรัดโครงการนี้อาจทำให้ส่งผลต่อต้นทุนของโครงการให้เพิ่มขึ้น หรืออาจจะลดลงก็ได้ การวิเคราะห์การเร่งรัดโครงการ เวลาดำเนินงานปกติ (normal time : Tn) เวลาดำเนินงานอย่างเร่งรัด (crash time : Tc) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานปกติ (normal cost : Cn) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอย่างเร่งรัด (crash cost : Cc) Avg. crash cost คือ ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดโครงการต่อหนึ่งหน่วยเวลา