โครงการ ถาม-ตอบอัจฉริยะ E – Question Idea
ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ การบริการให้คำปรึกษาเป็นหนึ่งในภารกิจหลักของสำนักตรวจสอบ ซึ่งเดิมที่การให้คำปรึกษาจะอยู่ในรูปแบบฟอร์ม FM-IA-26 ซึ่งเป็นการกรอกข้อมูลลงฟอร์ม โดยมีช่องทางการให้บริการคือ เข้ามาสอบถามด้วยตนเอง ทางโทรศัพท์ เป็นต้น ในบางครั้งจะพบปัญหา เนื่องจากการขอรับบริการคำปรึกษาที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้การบริการไม่ทั่วถึง ไม่สะดวกที่จะเดินมาสอบถามที่สำนักตรวจสอบเอง สายโทรศัพท์ไม่ว่าง ผู้ตรวจสอบออกตรวจภาคสนาม เป็นต้น ดังนั้นจึงเป็นที่มีของโครงการนี้ พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาให้มีความสะดวก รวดเร็ว โดยเพิ่มช่องทางการบริการและพัฒนาระบบการให้คำปรึกษาผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือ Electronic Question Idea (E-QI)
ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ วิวัฒนาการของ E-QI FM-IA-26 E-QI
ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ(ต่อ) ระบบงานเดิม ปัญหาที่เกิดขึ้น บันทึกการให้คำปรึกษาในฟอร์ม FM-IA-26 - ไม่สะดวก ใช้เวลานาน - ใช้พื้นที่มากในการจัดเก็บ - การสื่อสารไม่ตรงกัน ระบบงานใหม่ ประโยชน์ที่ได้รับ ระบบ E-Question Idea หรือระบบ E-QI - เพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการ คำปรึกษา และพัฒนาขึ้นสู่ระบบ Online - ฐานการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง - สื่อสารเข้าใจตรงกัน - ประหยัดทรัพยากรและพื้นที่จัดเก็บ Back
เป้าหมายและตัวชี้วัด 1. การให้บริการคำปรึกษารวดเร็วมากขึ้น 2. สามารถลดวัสดุสิ้นเปลืองของสำนักงาน เช่น กระดาษ หมึกพิมพ์
แผนภูมิก้างปลา
สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 1. การให้คำปรึกษาใช้เวลานาน - ไม่มีการรวบรวมระเบียบต่างๆ อย่างเป็นระบบ ไม่เป็นปัจจุบัน - ความเชี่ยวชาญด้านการให้คำปรึกษา ที่ต้องอาศัยประสบการณ์ 2. ข้อจำกัดของช่องทางการให้คำปรึกษา - ผู้ตรวจสอบไม่ได้รับแจ้งคำขอรับบริการ เนื่องจากออกไปทำงานนอกสถานที่ - การสื่อสารด้วยวาจาอาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน 3. ระบบการให้คำปรึกษาแนะนำ ไม่เป็นระบบ - จัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องไม่ครบถ้วน - ไม่มีระบบฐานข้อมูล - ข้อจำกัดพื้นที่ในสำนักงาน - ผู้ตรวจสอบไม่บันทึกประวัติการให้คำปรึกษา
ระบบเดิม
ระบบใหม่
เครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ ระบบ E-QI ได้พัฒนาให้อยู่ในรูปแบบเว็บเพจที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาคือ
ผลลัพธ์การดำเนินการ ระยะเวลาในการตอบคำถาม พื้นที่ในการจัดเก็บ (ข้อมูลตัวชี้วัดเปรียบเทียบก่อนและหลังการปรับปรุง) ตัวชี้วัด หน่วยนับ ก่อนใช้ หลังใช้ ลดลง ร้อยละ ระยะเวลาในการตอบคำถาม นาที 1.46 0.66 54.79 พื้นที่ในการจัดเก็บ แฟ้ม 1.85 0.62 66.67 ระยะเวลาในการสรุปรวบรวมผล วัน 3.42 0.81 76.31 จำนวนกระดาษที่ใช้ แผ่น 4.00 1.08 73.08
สาธิตการใช้งานระบบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ รายชื่อบุคลากร สำนักตรวจสอบ 1.รองศาสตราจารย์วันเพ็ญ กฤตผล……………………ที่ปรึกษากลุ่ม 2.นายแวสมาแอ สะอะ………………………………….ประธานกลุ่ม 3.นางสาวณัฐถภรณ์ สุวีราภรณ์ ………………………..เลขานุการ 4.นางสาวจริยา ลาภวรกิจชัย……………………………สมาชิก 5.นางสาวอมรรัตน์ โพธิสิทธิ์ …………………………….สมาชิก 6.นางประภาภรณ์ อัครจินดานนท์……………………... สมาชิก 7.นางสาวสุจิตรา มังกโรทัย……………………………...สมาชิก 8.นางสาวดวงดาว ต่อทรัพย์สิน ………………………….สมาชิก 9.นางสาวสมจินตนา สุวรรณสิงห์…………………………สมาชิก
สวัสดี
การเรียกใช้งานระบบ