การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
Rayleigh Scattering.
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
สื่อประกอบการเรียนรู้
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
วงจรสี.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การฝึกอบรมการใช้เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer
การเพ้นท์ผ้าบาติก น.ส.สุภาพ ชื้อผาสุข.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ความหมายและชนิดของคลื่น
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
กาแล็กซีและเอกภพ.
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ยูเรนัส (Uranus).
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
863封面 ทองคำ เขียว.
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
แว่นกรองแสง (Light Filter)
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป

วัตถุประสงค์ สร้างและเทียบมาตรฐานสเปกโทรสโกปอย่างง่าย เปรียบเทียบสเปกตรัมที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (visible spectrum) จากแหล่งต่างๆ 3.วัดความยาวคลื่นของเส้นสเปกตรัม( line spectrum)ของอะตอม 4.บอกความแตกต่างระหว่างสเปกตรัมดูดกลืน (absorption spectra) และสเปกตรัมเปล่งออก (emission spectra)

ทฤษฎี Electromagnetic radiation Diffraction grating อันตรกิริยาระหว่างแสงกับสสาร สเปกโทรสโกปอย่างง่าย

1 .Electromagnetic radiation www.spaceforspecies.ca/ educators_guide/satell

2. Diffraction grating คือ วัสดุโปร่งแสงที่มีรอยขีดเป็นร่องขนานกันเป็นจำนวนมาก ประมาณ 6,000 เส้นต่อ 1 cm สามารถแยกแสงออกเป็นแถบสีต่างๆตามความยาวคลื่นของแสงโดยอาศัยการเลี้ยวเบนและการแทรกสอด www.physics.smu.edu/.../ diffraction/grating.gif

ความเข้มของแสงมากขึ้น hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/.../ grating.html Diffraction grating มีจำนวนรอยขีดเป็นร่องมากทำให้ ความเข้มของแสงมากขึ้น

3. อันตรกิริยาระหว่างแสงกับสสาร สเปกตรัมดูดกลืน สเปกตรัมเปล่งแสง ΔE = E2 - E1 = h

สเปกตรัมต่อเนื่อง สเปกตรัมเปล่งแสง สเปกตรัมดูดกลืน

4.สเปกโทรสโกปอย่างง่าย สเกลไม้บรรทัด ช่องให้แสงเข้า(slit) Diffraction grating

การทดลอง 1. ศึกษาสเปกตรัมของแสงจากแหล่งต่างๆ 1.1 สังเกตผิวของเกรตติง(grating) บนสเปกโทรสโกป 1.2 ส่องดูแสงแดดหรือแสงจากหลอดไฟทังสเตนด้วย สเปกโทรสโกป 1.3 ส่องดูแสงจากหลอดฟลูออเรสเซนส์ด้วยสเปกโทรสโกป

2. การเทียบมาตรฐาน (Calibration) สเปกโทรสโกป 2.1 ดูเส้นสเปกตรัมของปรอทในหลอดฟลูออเรสเซนส์ บันทึกตำแหน่งของเส้นสีม่วง เขียว และเหลือง ที่ปรากฏบนสเกลในสเปกโทรสโกป

สเกลความยาว (เซนติเมตร) 2.2 เขียนกราฟระหว่างความยาวคลื่น (แกน x ) กับตำแหน่งที่ปรากฏบนสเกล ( แกน y )ในสเปกโทรสโกป ม่วง 436 nm เขียว 546 nm เหลือง 580 nm สเกลความยาว (เซนติเมตร) 7 6 5 4 3 2 1 (nm) 1 2 3 4 5 6 7

2.3 หาความยาวคลื่นของแถบสีของวิสิเบิลสเปกตรัม 2.3 หาความยาวคลื่นของแถบสีของวิสิเบิลสเปกตรัม ดูแสงแดดหรือแสงจากหลอดทังสเตนด้วยสเปกโทรสโกป บันทึกตำแหน่งบนสเกลของแถบสีที่ต่อเนื่องกัน เช่น ม่วงกับคราม เขียวกับเหลือง และส้มกับแดง หาช่วงความยาวคลื่นของแถบสีแต่ละแถบด้วยกราฟข้อ 2.2

3. การศึกษาสเปกตรัมเปล่งแสง 3. การศึกษาสเปกตรัมเปล่งแสง 3.1 ดูและบันทึกตำแหน่งของเส้นสเปกตรัมจาก หลอดปล่อยประจุ ( Hydrogen discharge tube ) 3.2 หาความยาวคลื่นของเส้นสีน้ำเงิน เขียว เหลือง และแดงจากกราฟ ข้อ 2.2

E = hc/ 3.3 คำนวณพลังงานของเส้นสเปกตรัมทั้งสี่ 3.3 คำนวณพลังงานของเส้นสเปกตรัมทั้งสี่ E = hc/ h = ค่าคงที่ของแพลงก์ = 6.63 x 10-34 J.s c = ความเร็วของแสง = 3.00 x 108 ms-1

บันทึกผลที่สังเกตเห็น 4. การศึกษาสเปกตรัมดูดกลืน ส่องแสงที่ผ่านออกจากสารละลายของสีผสมอาหาร สีแดง เหลือง ฟ้า และเขียว บันทึกผลที่สังเกตเห็น Diffraction grating