ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ประชากร umaporn.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Physiology of Crop Production
แบบของการเพิ่มประชากร
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
Ecological Balance Ecosystem Homeostatic System
ระบบนิเวศ (Ecology) Gajaseni, 2001.
ถาม สารอาหารหมุนเวียนในระบบนิเวศอย่างไร?
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
BIO-ECOLOGY 2.
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจ การเปลี่ยนแปลงประชากร
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
Aesthetic of Home and Garden Dr. Naris Sinsiri Dr. Wantana Sinsiri.
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
Ecology.
การพยากรณ์โรค.
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชากร (Population) Gajaseni, 2001

คำจำกัดความ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในมาตราของเวลาหนึ่งๆ Gajaseni, 2001

คุณลักษณะของประชากร 1. ความหนาแน่นประชากร ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวกับสิ่งแวดล้อมทั้งในมาตราของเวลาทางนิเวศวิทยาและมาตราเวลาทางวิวัฒนาการและการคัดเลือกพันธุ์ตามธรรมชาติ ปรากฏออกมาให้เห็นเป็นคุณลักษณะของประชากรนั้น ๆ ที่สำคัญได้แก่ 1. ความหนาแน่นประชากร 2. การกระจายตัวของประชากร (dispersion) Gajaseni, 2001

ความหนาแน่นประชากร การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของประชากร เป็นผลเนื่องมาจากปัจจัย 4 ประการ เข้ามาร่วมกันทำหน้าที่ ภาพ33.6 Gajaseni, 2001

รูปแบบการกระจายตัวของประชากร 1. การรวมกลุ่ม (Clumped) - พบมากที่สุด - สิ่งแวดล้อมไม่สม่ำเสมอ 2. สม่ำเสมอ (Uniform) - พบไม่บ่อย - การแก่งแย่งรุนแรง 3. อิสระ (Random) - ค่อนข้างหายาก - สิ่งแวดล้อมสม่ำเสมอ - การต่อสู่ไม่รุนแรง Clumped Uniform Random Gajaseni, 2001

รูปแบบการกระจายตัวของประชากร การกระจายตัวของประชากรถูกกำหนดโดยขอบเขตทางภูมิศาสตร์ที่ประชากรนั้นปรากฏยู่ อันได้แก่ 1. ปัจจัยทางกายภาพ เช่น แสง น้ำ อุณหภูมิ สารอาหาร 2. ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิด สิ่งมีชีวิต เช่น การแก่งแย่ง การล่า หรือ สภาวะปรสิต 3. สถานะทางภูมิศาสตร์ ที่สำคัญได้แก่สิ่งที่ขวางกั้น การแพร่กระจายของประชากรนั้น (Barrier) เช่น ภูเขา ทะเล ทะเลทราย เกาะ เป็นต้น Gajaseni, 2001

รูปแบบการอยู่รอดและกราฟการอยู่รอด สามารถแสดงเป็นกราฟได้ 3 รูปแบบ 1. ตายตามอายุขัยทาง สรีระวิทยา 2. อัตราการตายคงที่ 3. ตายในระยะต้นของ วงชีวิต ทำไม ? / ประโยชน์ ? Gajaseni, 2001

โครงสร้างอายุ (Age structure) = โครงสร้างอายุ ซึ่งแสดงโดยค่าอายุในแต่ละช่วงชีวิต เพื่อใช้ประเมินสถานภาพของการเจริญของประชากรในอนาคต กำหนดช่วงชีวิตเป็น 3 ระยะ 1. ระยะก่อนวัยเจริญพันธุ์ (Pre - reproductive) 2. ระยะวัยเจริญพันธุ์ (Reproductive) 3. ระยะหลังวัยเจริญพันธุ์ (Post - reproductive) Gajaseni, 2001

ปิรามิดโครงสร้างอายุ Gajaseni, 2001

- - + + การรักษาสมดุลของประชากร Population density ปัจจัยที่มีผลต่อจำนวนประชากร Natality + - + Population density Immigration Emigration - Mortality Gajaseni, 2001