ประชากร (Population) Gajaseni, 2001
คำจำกัดความ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในมาตราของเวลาหนึ่งๆ Gajaseni, 2001
คุณลักษณะของประชากร 1. ความหนาแน่นประชากร ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวกับสิ่งแวดล้อมทั้งในมาตราของเวลาทางนิเวศวิทยาและมาตราเวลาทางวิวัฒนาการและการคัดเลือกพันธุ์ตามธรรมชาติ ปรากฏออกมาให้เห็นเป็นคุณลักษณะของประชากรนั้น ๆ ที่สำคัญได้แก่ 1. ความหนาแน่นประชากร 2. การกระจายตัวของประชากร (dispersion) Gajaseni, 2001
ความหนาแน่นประชากร การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของประชากร เป็นผลเนื่องมาจากปัจจัย 4 ประการ เข้ามาร่วมกันทำหน้าที่ ภาพ33.6 Gajaseni, 2001
รูปแบบการกระจายตัวของประชากร 1. การรวมกลุ่ม (Clumped) - พบมากที่สุด - สิ่งแวดล้อมไม่สม่ำเสมอ 2. สม่ำเสมอ (Uniform) - พบไม่บ่อย - การแก่งแย่งรุนแรง 3. อิสระ (Random) - ค่อนข้างหายาก - สิ่งแวดล้อมสม่ำเสมอ - การต่อสู่ไม่รุนแรง Clumped Uniform Random Gajaseni, 2001
รูปแบบการกระจายตัวของประชากร การกระจายตัวของประชากรถูกกำหนดโดยขอบเขตทางภูมิศาสตร์ที่ประชากรนั้นปรากฏยู่ อันได้แก่ 1. ปัจจัยทางกายภาพ เช่น แสง น้ำ อุณหภูมิ สารอาหาร 2. ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิด สิ่งมีชีวิต เช่น การแก่งแย่ง การล่า หรือ สภาวะปรสิต 3. สถานะทางภูมิศาสตร์ ที่สำคัญได้แก่สิ่งที่ขวางกั้น การแพร่กระจายของประชากรนั้น (Barrier) เช่น ภูเขา ทะเล ทะเลทราย เกาะ เป็นต้น Gajaseni, 2001
รูปแบบการอยู่รอดและกราฟการอยู่รอด สามารถแสดงเป็นกราฟได้ 3 รูปแบบ 1. ตายตามอายุขัยทาง สรีระวิทยา 2. อัตราการตายคงที่ 3. ตายในระยะต้นของ วงชีวิต ทำไม ? / ประโยชน์ ? Gajaseni, 2001
โครงสร้างอายุ (Age structure) = โครงสร้างอายุ ซึ่งแสดงโดยค่าอายุในแต่ละช่วงชีวิต เพื่อใช้ประเมินสถานภาพของการเจริญของประชากรในอนาคต กำหนดช่วงชีวิตเป็น 3 ระยะ 1. ระยะก่อนวัยเจริญพันธุ์ (Pre - reproductive) 2. ระยะวัยเจริญพันธุ์ (Reproductive) 3. ระยะหลังวัยเจริญพันธุ์ (Post - reproductive) Gajaseni, 2001
ปิรามิดโครงสร้างอายุ Gajaseni, 2001
- - + + การรักษาสมดุลของประชากร Population density ปัจจัยที่มีผลต่อจำนวนประชากร Natality + - + Population density Immigration Emigration - Mortality Gajaseni, 2001