อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ กับความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยะธรรมจีน)
• หน้าหลัก หน้าหลัก • สมาชิก สมาชิก • ประวัติความเป็นมา ประวัติความเป็นมา • เรื่องความเชื่อ เรื่องความเชื่อ • ข้อมูลเฉพาะ ข้อมูลเฉพาะ • แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูล.
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
พระวาจาของพระเจ้าบอกว่า
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
สื่อประกอบการเรียนรู้
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
~ ฉงชิ่ง~ เด็กชายมานพ ตั้งเจริญ ป. 6/1.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
อารยลุ่มธรรมแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
ศาสนาพื้นฐานดั้งเดิม
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
วิชาประวัติศาสตร์ไทย 1 รหัสวิชา ส30108
ระบบความเชื่อ.
สมัยโชมอน.
สมัยโคะฟุน.
แล้ว...ถังรั่วใบใหญ่ให้อะไรกับเรา
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลักษณะทางภูมิภาคทวีปยุโรป
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
จัดทำโดย นางสาวปฑันทิญา จินดาเสวก คณะสาธารณสุขศาสตร์ กลุ่ม 10
ตราด.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจเราเฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษโบราณว่าChristes.
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
Japan.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิด ของพระเยซูเจเราเฉลิม ฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับ ศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas.
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
รูปความ เป็นมา รูปในอดีต รูปใน ปัจจุบัน. ทัชมาฮาล.. อณุสรณ์แห่งความ รัก ทัชมาฮาล ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ ประเทศอินเดียสภาพ ปัจจุบัน สมบูรณ์ดี ทัชมาฮาล อนุสาวรีย์แห่งความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ กับความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายของชาวอียิปต์

อารยธรรมแม่น้ำไนล์ อารยธรรมแม่น้ำไนล์หรืออียิปต์สมัยโบราณประกอบด้วย อียิปต์บน(Upper Egypt) อยู่ทางทิศใต้บริเวณที่แม่น้ำไหลผ่านภูเขา หุบเขา เนินเขาที่แห้งแล้ง อียิปต์ล่าง (Lower Egypt) อยู่บริเวณที่แม่น้ำแตกสาขาเป็นรูปพัด ไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

อารยธรรมอียิปต์เริ่มบริเวณนี้ ประมาณ 3000 ปีก่อน ค. ศ อารยธรรมอียิปต์เริ่มบริเวณนี้ ประมาณ 3000 ปีก่อน ค.ศ. เมเนส กษัตริย์ อียิปต์บนสามารถรวมอาณาจักร อีปต์บนและอียิปต์ล่างเข้าด้วยกัน ตั้งเมือง หลวงที่ เมมฟิส และตั้งราชวงศ์แรกปกครองอียิปต์ตั้งแต่ 3,000 ปีก่อนค.ศ. จนถึง 322 ปีก่อน ค.ศ. มีราชวงศ์ทั้งหมด 30 ราชวงศ์ ความเชื่อที่สำคัญ ของชาวอียิปต์คือ การฟื้นคืนชีพหลังความตาย มีการ สร้างปิรามิดเพื่อใช้เป็นสุสานเก็บรักษาศพด้วยการทำมัมมี เขียนคัมภีร์ของ คนตาย(Book of the Dead).ใส่ไว้ในที่ฝังศพ เชื่อว่าวิญญาณ เป็นอมตะ มีการบูชาเทพโอซิริส นับถือฟาโรห์เป็นเทพเจ้า ทำให้ฟาโรห์มี อำนาจปกครองเด็ดขาด

ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย ชาวอียิปต์นับถือบูชาเทพเจ้าหลายองค์ (Polytheism) โดยเชื่อว่า ธรรมชาติซึ่งบันดาลความผาสุก ความดีงาม หรือความหายนะให้แก่มนุษย์นั้น เกิดจากการกระทำของเทพเจ้าทั้งสิ้น แต่ละเมืองของอียิปต์จะมีเทพเจ้าประจำ เมือง ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าคนตายแล้วจะกลับคืนชีพมาใหม่เหมือนดวง อาทิตย์ที่หายลับขอบฟ้าในยามเย็น และกลับขึ้นมาใหม่ในวันรุ่งขึ้น จากการที่ ดวงอาทิตย์มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของชาวอียิปต์มาก

ชาวอียิปต์เชื่อว่าเมื่อตายไปแล้วทุกคนมีฐานะเท่าเทียมกัน เมื่อวิญญาณ ของผู้ตายได้ออกจากร่างมัมมี่แล้ว เทพอานูบิส ซึ่งเป็นเทพแห่งความตาย ผู้ มีรูปร่างเป็นคน ศีรษะเป็นสุนัขจะเป็นผู้ดูแลรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อย และเท พีไอซิสจะมาต้อนรับและพานั่งเรือข้ามแม่น้ำไปสู่แดนมรณะที่ซึ่งมีเทพโอซิ ริส เทพเจ้าแห่งแดนมรณะ เป็นผู้ตัดสินว่าใครจะได้ไปสู่สรวงสวรรค์ โดยมี โอซิริสเป็นประธาน มีตุลาการซึ่งเป็นผู้ช่วยอีก 42 คน

วิญญาณจะต้องให้การตามความสัตย์จริง เมื่อสิ้นคำให้การ เทพอานูบิสก็ จะนำหัวใจไปชั่งกับตาชั่งแห่งความสัตย์ที่ด้านหนึ่งเป็นขนนก หากหัวใจ เบากว่าขนนกถือว่าคนคนนั้นเป็นคนดี วิญญาณนั้นก็จะกลายเป็น วิญญาณแห่งเทพโอซิริสและจะได้ไปเกิดใหม่เป็นนิรันดร์ และในทาง ตรงกันข้ามหากเป็นคนไม่ดี วิญญาณนั้นก็จะกลายเป็นหมูหรือสัตว์สกปรก อื่นๆ

ในอดีตชาวอียิปต์เฝ้าสังเกตว่าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก ลับขอบฟ้า ทางทิศตะวันตกอันเป็นสัญญาณเริ่มต้นแห่งรัตติกาล และพอรุ่งเช้าพระ อาทิตย์ก็จะทอแสงอีกครั้ง ปรากฏการณ์ธรรมชาตินี้ได้กลายเป็นหลักคิด สำคัญทำให้ชาวอียิปต์เชื่อว่าทิศตะวันออกเป็นทิศของคนเป็น และทิศ ตะวันตกเป็นทิศของคนตาย ชาวอียิปต์ส่วนใหญ่จึงนิยมตั้งบ้านเรือนทาง ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำไนล์ ส่วนฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งของสุสาน ด้วยเหตุนี้ สุสานของฟาโรห์ที่มีอยู่ประมาณ 80-90 แห่ง ทั้งหมดตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของ แม่น้ำไนล์

จบการนำเสนอ

จัดทำโดย นางสาวจุฑามาศ อินทรกันหา นางสาวนิภาพร ลาตุ่น นางสาวจุฑามาศ อินทรกันหา นางสาวนิภาพร ลาตุ่น นางสาวศิรินยา ถิตย์กุล นางสาวสุมิตรา ขันเล็ก นางสาวรังสิยา ใจดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1