มาการเขียนพู่กันจีนกันเถอะ
บนลงล่าง,ซ้ายไปขวา การเขียนอักษรตามลำดำขีด ตัวอย่างเช่น ผู้ที่เริ่มศึกษาภาษาจีนใหม่ ๆ อาจจะเคยได้ยินกันจนหนาหูว่า "ภาษาจีนเขียนยาก จำยาก" อยากจะขอบอกว่าไม่ได้ยากอย่างที่คิด และไม่จำเป็นที่จะต้องมานั่งจำลำดับขีดอะไรกันให้มากมาย เพียงแค่หมั่นฝึกเขียน และเขียนตามลำดับขีดที่อาจารย์ให้คัดส่งเป็นการบ้านเป็นประจำทุกวัน ความเคยชินจากลำดับขีดจะซึมสู่นักเรียน เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ พึงจำไว้ว่า ครั้งแรกที่เริ่มฝึกเขียนจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเขียนตามลำดับขีดให้ถูกต้องนะค่ะน้องๆ บนลงล่าง,ซ้ายไปขวา
มาเร็วมาลองฝึกดูกันนะ............... ซ้ายไปขวาค่ะ คัดลงในตารางนะค่ะน้องๆ ลองดูอีกตัวนะคะ บนลงล่างนะคะ
มาเรียนประวัติของอักษรจีนกันเถอะค่ะ อักษรจารบนกระดูกสัตว์ อักษรจารบนกระดูกสัตว์(甲骨文) อักษรโลหะ อักษรโลหะ(金文) มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘จงติ่งเหวิน’(钟鼎文)หมายถึงอักษรที่หลอมลงบนภาชนะทองเหลืองหรือสำริด อักษรลี่ซู สำหรับที่มาของอักษรลี่ซูนั้น กล่าวกันว่าสมัยฉินมีทาสที่เรียกว่าเฉิงเหมี่ยวผู้หนึ่ง เนื่องจากกระทำความผิด จึงถูกสั่งจำคุก เฉิงเหมี่ยวที่อยู่ในคุกคุมขังจึงคิดปรับปรุงตัวอักษรจ้วนให้เขียนง่ายขึ้น จากโครงสร้างกลมเปลี่ยนเป็นสี่เหลี่ยม อักษรจ้วนเล็ก ภายหลังจากจิ๋นซีฮ่องเต้ได้รวมแผ่นดินจีนเข้าด้วยกันในปีค.ศ. 221 แล้ว ก็ทำการปฏิรูประบบตัวอักษรครั้งใหญ่ โดยการสร้างมาตรฐานรูปแบบตัวอักษรที่เป็นหนึ่งเดียวกันทั่วประเทศ มาปรับให้เรียบง่ายขึ้น
อักษรสิงซู อักษรข่ายซู ซูฝ่า : สุนทรียภาพบนปลายพู่กัน อักษรเฉ่าซู อักษรข่ายซู(楷书)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอักษรจริง (真书)เป็นอักษรจีนรูปแบบมาตรฐานใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน อักษรเฉ่าซู เกิดจากการนำเอาลายเส้นที่มีแต่เดิมมาย่นย่อเหลือเพียงขีดเส้นเดียว โดยฉีกออกจากรูปแบบอันจำเจของกรอบสี่เหลี่ยมในอักษรจีน อักษรสิงซู อักษรสิงซู(行书)เป็นรูปแบบตัวอักษรที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอักษรข่ายซูและอักษรเฉ่าซู เกิดจากการเขียนอักษรตัวบรรจงที่เขียนอย่างหวัดหรืออักษรตัวหวัดที่เขียนอย่างบรรจง ซูฝ่า : สุนทรียภาพบนปลายพู่กัน ศิลปะการเขียนตัวอักษรจีนหรือซูฝ่า(书法) เป็นศิลปะที่ถือได้ว่าเก่าแก่ที่สุดและแพร่หลายไปทั่วประเทศจีนจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ซึ่งประเภทของตัวอักษรที่ศิลปินนิยมเขียนกันนั้นมีอยู่หลายแบบ เช่น ลี่ซู ข่ายซู เฉ่าซู สิงซู เป็นต้น (อ่านรายละเอียดของรูปแบบตัวอักษรจีนและพัฒนาการของอักษรจีนได้ที่ “วิวัฒนาการของตัวอักษรจีน” ซึ่งลักษณะอักษรที่แตกต่างกัน สามารถแสดงถึงอารมณ์ ความรู้สึกของศิลปิน และความหมายต่างๆ ที่แฝงอยู่ในภาพ ได้
อักษรโลหะ อักษรลี่ซู่ อักษรจ้วนเล็ก อักษรสิงซู่ อักษรข่ายซู่ กระดูกสัตว์ อักษรโลหะ อักษรลี่ซู่ อักษรจ้วนเล็ก อักษรสิงซู่ อักษรข่ายซู่ อักษรเฉ่าซู่
คราวนี้ได้เวลาที่น้องๆจะได้ลองเขียนจริงแล้วค่ะ...ลุยเลย วิธีการจับพู่กันจีนที่ถูกต้องค่ะ....น้องๆลองมาฝึกกันนะค่ะ... ใช้นิ้วโป้ง นิ้วชี้เเละนิ้วกลางจับพู่กัน สามนิ้วนี้เป็นนิ้วหลักในการเขียนนิ้วนางกับนิ้วก้อยอยู่ด้านล่าง คอยประคองพู่กัน จับพู่กันช่วงกลางด้ามให้ตัวพู่กันตั้งตรงเป็นเส้นตั้งฉากกับโต๊ะเสมอเวลาเขียน สามารถใช้มือรองด้านล่างได้นะคะถ้าเมื่อยค่ะ คราวนี้ได้เวลาที่น้องๆจะได้ลองเขียนจริงแล้วค่ะ...ลุยเลย
ที่มา http://www.phuketvegetarian.com/borad/data/9/0006-1.html http://pom-50010110071.blogspot.com/2009/09/blog-post.html