จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
LAB # 3 Computer Programming 1
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวดำเนินการ(Operator)
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Week 13 Basic Algorithm 2 (Searching)
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1 , -2 , -3 , -4 , -5 ,....                   3.   จำนวนเต็มศูนย์    ได้แก่  0 ดังนั้น   เมื่อกล่าวถึงจำนวนเต็มจะหมายถึง  จำนวนเต็มบวก  หรือจำนวนเต็มลบ หรือ ศูนย์ เขียนแสดงจำนวนเต็มทั้งหมดโดยใช้เส้นจำนวนดังนี้   -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

ศูนย์ ( ใช้สัญลักษณ์ "0" ) เป็นจำนวนเต็มอีกชนิดหนึ่ง ที่เราไม่ถือว่าเป็นจำนวนนับ จากหลักฐานที่ค้นพบทำให้เราทราบว่ามนุษย์รู้จักใช้สัญลักษณ์ "0" ในราวปี ค.ศ. 800 โดยที่ "0" แทนปริมาณของการไม่มีของหรือของที่ต้องการกล่าวถึง แต่ก็ไม่ใช่ว่า 0 จะไม่มีความหมายถึงการไม่มีเสมอไป ตัวอย่างเช่น ระดับผลการเรียนทางด้านความรู้ โดยนักเรียนที่มีระดับผลการเรียนเป็น 0 ไม่ได้หมายความว่านักเรียนคนนั้นไม่มีความรู้ เพียงแต่ ว่ามีความรู้ในระดับหนึ่งเท่านั้น

จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ  คือ จำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 0 ไปเรื่อย ๆ โดยที่ไม่สามารถระบุได้ว่าจำนวนนับตัวสุดท้ายเป็นอะไร จำนวนนับเริ่มต้นที่ 1 , 2 , 3, ... ซึ่งเราทราบแล้วว่า จำนวนนับที่น้อยที่สุด คือ 1 จำนวนนับที่มากที่สุดหาไม่ได้

จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มลบ คือ จำนวนที่มีค่าน้อยกว่า ศูนย์ มีตำแหน่งอยู่ทางด้านซ้ายมือของศูนย์เมื่ออยู่บนเส้นจำนวน และ จะมีค่าลดลงเรื่อย ๆ โดยไม่สามารถจะบอกได้ว่าจำนวนใดจะมีค่าน้อยที่สุด แต่เราสามารถรู้ได้ว่าจำนวนเต็มลบที่มีค่ามากที่สุด     คือ   -1 เราพอจะสรุปลักษณะที่สำคัญของจำนวนเต็มลบได้ดังนี้ 1. จำนวนเต็มลบเป็นจำนวนที่มีค่าน้อยกว่าศูนย์ หรือถ้ามองบนเส้นจำนวน ก็คือ เป็นจำนวนที่อยู่ทางซ้ายมือของศูนย์ 2. จำนวนเต็มลบที่มีน้อยที่สุดไม่สามารถหาได้ แต่ จำนวนเต็มลบที่มีค่ามากที่สุด คือ -1 3. ตัวเลขที่ตามหลังเครื่องหมายลบ ยิ่งมีค่ามากขึ้นจำนวนเต็มลบนั้นจะมีค่าน้อยลง

แบบฝึกทักษะที่ 1 คำชี้แจง จงเรียงลำดับจำนวนเต็มบวกจากน้อยไปหามาก 1 แบบฝึกทักษะที่ 1   คำชี้แจง จงเรียงลำดับจำนวนเต็มบวกจากน้อยไปหามาก  1. 17 , 8 , 14 , 6 , 96 , 10 2. 45 , 82 , 41 , 21 , 9 , 6   3. 11 , 21 , 0 , 3 , 8 , 4 4. 0 , 7 , 9 , 1 , 4 , 3   5. 2 , 78 , 3 , 10 , 0 , 1 6. 70 , 0 , 100 , 98 , 10 , 80   7. 78 , 90 , 1 , 200 , 80 , 100 8. 9 , 33 , 27 , 1 , 30 , 0   9. 45 , 9 , 1 , 19 , 32 , 20 10. 0 , 10 , 45, 18 , 20 , 40  

เฉลยแบบฝึกทักษะที่1   1. 6 , 8 , 10 , 14 , 17 , 96   2. 6 , 9 , 21 , 41 , 45 ,82   3. 0 , 3 , 4 , 8 , 11 , 21   4. 0 , 1 , 3 , 4 , 7 , 9   5. 0 , 1 , 2 , 3 , 10 , 78 6. 0 , 10 , 70 , 80 , 98, 100   7. 1 , 78 , 80, 90 , 100 , 200   8. 0 , 1, 9 , 27, 30 , 33   9. 1 , 9 , 19 , 20 , 32, 45   10. 0 , 10 , 18, 20 , 40 , 45  

แบบฝึกทักษะที่ 2 คำชี้แจง แบบฝึกทักษะที่ 2  คำชี้แจง จงพิจารณาประโยคต่อไปนี้ว่าประโยคใดเป็นจริง ประโยคใดเป็นเท็จ แล้วเขียนเครื่องหมาย หรือ  ลงในช่องว่างหน้าข้อความ ................. 1) 0 เป็นจำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด ................. 2) 1 เป็นจำนวนเต็ม ................. 3) จำนวนนับที่น้อยที่สุด คือ 0 ................. 4) -2 เป็นจำนวนเต็ม ................. 5) มีจำนวนเต็มลบมากมายนับไม่ถ้วน ................. 6) 2.5 เป็นจำนวนเต็ม ................. 7) จำนวนที่ต่อจาก 0 โดยลดลงครั้งละ 5 คือ -5 ................. 8) จำนวนที่ต่อจาก -7 โดยเพิ่มครั้งละ 5 คือ -2 ................. 9) -1, -2, -3, ... เป็นการนับเพิ่มครั้งละ 1 ................. 10) -3 เป็นจำนวนที่อยู่ห่างจาก 0 ทางซ้ายมือ 3 หน่วย              

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2    1)  2)  3)  4)  5)  6)  7)  8)  9)  10) 