Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
การเขียนผังงาน.
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ระบบการบริหารการตลาด
การศึกษารายกรณี.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สถานที่ฝึกงาน ที่ว่าการอำเภอโคกโพธิ์ ถนนเพชรเกษม ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี แผนกงานที่รับผิดชอบ งานฝ่ายทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การปรับปรุง และพัฒนางาน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
งานโภชนาการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10
ปัญหาอุปสรรค 1) หมายเลขบัตรประชาชน ไม่ครบ 13 หลัก ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง.
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
ประเภทผลงาน ประเภทนวัตกรรม ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนาชุดอุปกรณ์พร้อมใช้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์

ถูกที่-ถูกเวลา-ถูกใจ

งานโภชนาการ เป็นหน่วยงานสนับสนุนที่มีภาระงานหลัก คือ จัดบริการอาหารให้กับผู้ป่วยในโรงพยาบาล โดยกำหนดวิธีการบริการอาหารเป็นการบริการแบบระบบรวม(Centralized system ) คือการจัดบริการอาหารจากงานโภชนาการทั้งหมด บริการให้แก่หอผู้ป่วยจำนวน 34 หอผู้ป่วย โดยใช้ รถส่งอาหารทั้งหมด 17 คัน/มื้อ มีกระบวนการดังนี้

รับคำสั่งด้วยระบบออนไลน์ ลำเลียงผ่านสายพานไปยังรถแต่ละหอผู้ป่วยตามOrder จัดอาหาร เจ้าหน้าที่รับถาดอาหารไปยังรถแต่ละหอผู้ป่วย บริการบนหอผู้ป่วย

ที่มาของปัญหา ไม่มีการกำหนดผังการจอดรถที่ชัดเจน กรณีที่เป็นเจ้าหน้าที่บรรจุใหม่หรือเจ้าหน้าที่บริษัทล้างภาชนะ ต้องมีการสื่อสารซ้ำๆหลายครั้ง ในตำแหน่งจอดของรถ มีเฉพาะเจ้าหน้าที่หน่วยบริการอาหารเท่านั้น ที่ทราบตำแหน่งของรถส่งอาหาร กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงอาหาร ในผู้ป่วยรับใหม่หรือเปลี่ยนคำสั่งอาหาร โภชนากรต้องแก้ไขในแต่ละหอผู้ป่วย ทำให้เสียเวลาหาตำแหน่งจอดรถทุกครั้ง

วิธีดำเนินการโดยกระบวนการ P-D-C-A PLAN ประชุมทีมงาน หน่วยบริการอาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจ สำรวจข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงาน/พื้นที่ในการจอดรถส่งอาหาร วิเคราะห์จุดในการจัดวางผังการจอดรถที่เหมาะสม DO กำหนดจุดวางผังการจอดรถ จัดทำรูปภาพ ผังการจอดรถ ดำเนินการใช้ Visual Control

ขณะจัดอาหารรถทั้งหมด 17 คันวางตามผังที่กำหนดไว้ ขณะจัดอาหารรถทั้งหมด 17 คันวางตามผังที่กำหนดไว้ พื้นที่วางขณะรถบริการอาหาร/ทำความสะอาด

CHECK ทดสอบการใช้ Visual Control โดยโภชนากร , เจ้าหน้าที่หน่วยบริการที่รับใหม่,เจ้าหน้าที่หน่วยผลิตอาหาร,เจ้าหน้าที่ทำความสะอาดรถของบริษัทภายนอกเพื่อประเมินผล ศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้ Visual Control ACT ศึกษาวิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานเพื่อนำ ข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างเนื่อง

การประเมินผล ประเมินในหัวข้อ ; ความเข้าใจในการใช้ Visual Control การใช้งานสะดวก สามารถลดเวลาและความผิดพลาด ทดสอบการใช้ Visual Control โดย ; นักโภชนาการทั้งหมด เจ้าหน้าที่หน่วยผลิตอาหาร และเจ้าหน้าที่หน่วยบริการทั้งหมด เจ้าหน้าที่ทำความสะอาดรถบริษัทภายนอก

ผลการประเมิน หัวข้อการประเมิน จำนวนผู้ประเมิน(คน) ผลการประเมิน ความเข้าใจในการใช้ Visual Control 55 = 4.8 การใช้งานสะดวก = 4.2 สามารถลดเวลาและความผิดพลาด = 4.4

ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ Visual Control เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบตำแหน่งจอดรถที่ชัดเจน สามารถลดเวลาและขั้นตอนการปฏิบัติงาน และการสื่อสารได้ เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

การขยายผล Visual Control ขั้นตอนการเตรียมพร้อมก่อนการปฏิบัติงานเพื่อลดการปนเปื้อนในอาหารทางสายให้อาหาร

มาตรฐานการเตรียมผลไม้สำหรับบริการผู้ป่วยในโรงพยาบาล

มาตรฐานการเตรียมเนื้อสัตว์ที่ใช้ผลิตอาหารผู้ป่วย

มาตรฐานการทำความสะอาดเครื่องใช้ในการผลิตอาหาร เช่น การทำความสะอาดเขียง

มาตรฐานการจัดวางภาชนะที่ทำความสะอาดแล้ว

มาตรฐานการจัดอาหาร สำหรับผู้ป่วย มาตรฐานการจัดอาหาร สำหรับผู้ป่วย

ขอบคุณค่ะ