คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การประชุมชี้แจงและกำหนด KPIs ระดับภาควิชา/หน่วยงานจัดการเรียนการสอน
วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
งานกิจการนิสิต
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รายงานการประเมิน คุณภาพภายใน 2553 Self Assessment Report (SAR) ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิสัยทัศน์ (Vision) ผลิตบัณฑิตและงานวิจัย เพื่อสังคมและชุมชน มุ่งสู่สากลด้วยความเป็นไท พัฒนาปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย สร้างองค์ความรู้ พื้นฐานภูมิปัญญาไทย เพื่อการพึ่งพาตนเอง พันธกิจ ผลิตบัณฑิตที่คิดเป็นทำเป็น มีศีลธรรมความรับผิดชอบ สามารถใช้ ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีความเป็นสากล  ทำการวิจัยที่เหมาะสมให้สามารถใช้ประโยชน์และการจัดการทรัพยากรใน ท้องถิ่น เพื่อชุมชนที่ยั่งยืน นำความรู้ทางวิชาการและงานวิจัยเข้าสู่สังคมให้สามารถไปใช้ได้  เป็นตัวอย่างและผู้นำแก่ชุมชนในการจัดการทรัพยากรใน ท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน  ดำรงความเป็นไทย

รักษาการหัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์ (รศ.ดร.วัลลภ สันติประชา) รองหัวหน้าภาควิชาฝ่าย กิจการนักศึกษาและบริการวิชาการ (อ. เถลิงศักดิ์ อังกุรเศรณี) รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายบริหาร (รศ. สุธา วัฒนสิทธิ์) รองหัวหน้าภาควิชาฝ่าย วิชาการและบัณฑิตศึกษา (รศ.ดร. วันวิศาข์ งามผ่องใส) เลขานุการภาควิชา (นางเบญจมาศ เฉลิมวงศ์) หัวหน้าฟาร์มปฏิบัติการ สัตศาสตร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (นายสมชาย พิมพ์ธนประทีป) หัวหน้าสถานีปฏิบัติการ สัตศาสตร์นาทวี (นายอุทัย สุขดำ) ฟาร์มปฏิบัติการสัตวศาสตร์ - หมวดสุกร - หมวดสัตว์ปีก - หมวดโค - หมวดแพะ หมวดอาหารสัตว์ หมวดวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ ฟาร์มปฏิบัติการสัตวศาสตร์ - ฟาร์มโคนม - ฟาร์มโคเนื้อ

การดำเนินงานภาควิชาฯ หลักสูตร วทบ การดำเนินงานภาควิชาฯ หลักสูตร วทบ.(เกษตรศาสตร์) สาขาสัตวศาสตร์ หลักสูตร วทม.(สัตวศาสตร์) สถานภาพบุคลากร และนักศึกษาปัจจุบัน (2553) จำนวนบุคลากร 1.ข้าราชการ สายวิชาการ 12 คน รศ.ดร. 4 คน รศ. 2 คน ผศ.ดร. 1 คน ผศ. 1 คน อาจารย์ ดร. 1 คน อาจารย์ 1 คน 2.พนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ 1 คน 3.ข้าราชการ สายสนับสนุน 6 คน 4.พนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุน 1 คน 5.ลูกจ้างประจำ 12 คน 6.พนักงานเงินรายได้ 11 คน รวม 43

จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2553 ภาควิชาฯ มีจำนวนนักศึกษาทั้งปริญญาตรีและปริญญาโทรวม คน จำแนกได้ดังนี้ ปริญญาตรี ปริญญาโท ชั้นปี จำนวน (คน) ชั้นปี จำนวน (คน) 1 65 2 64 3 59 4+ตกค้าง 41 1 1 2+ปีอื่นๆ 12 รวม 229 รวม 13

งบประมาณ ภาควิชาสัตวศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน 2,085,733.00 แหล่งที่มา จำนวน (บาท) ภาควิชาสัตวศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน 2,085,733.00 งบเงินรายได้ (รับจริงหลังจากหักให้มหาวิทยาลัยและคณะฯ ไม่รวมสถานีปฏิบัติการสัตวศาสตร์นาทวี) 2,748,400.00 สถานีปฏิบัติการสัตวศาสตร์นาทวี งบประมาณ 100,000.00 งบประมาณเงินรายได้ 1,245,400.00 รวม 6,179,533.00 4,834,133.00

บทที่ 2 ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ของ สกอ. บทสรุปผู้บริหารตัวบ่งชี้ของ สกอ. องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 10 นโยบาย 3 ดี (D) องค์ประกอบที่ 11 ตัวชี้วัด ก.พ.ร.

บทที่ 3 ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ของ สมศ. บทสรุปผู้บริหารตัวบ่งชี้ของ สมศ. กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ด้านคุณภาพบัณฑิต ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้านการบริหารและพัฒนาสถาบัน ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม

ตารางผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพของ สกอ. /ก. พ. ร ตารางผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพของ สกอ./ก.พ.ร. ปีการศึกษา 2553 องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ คะแนน ระดับ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ (1) 3.00 พอใช้ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต (8) 4.23 ดี องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (2) 4.00 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย (3) 3.69 องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม (2) 3.50 องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (1) 5.00 ดีมาก องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ (4) 4.25 องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ (1) 5 องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (1) 4 องค์ประกอบที่ 10 สถานศึกษา 3 ดี (3D) (2) ค่าเฉลี่ย 9 องค์ประกอบ 4.08

องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ คะแนน ระดับ ตัวบ่งชี้ ก.พ.ร. (ไม่ซ้ำกับ สกอ. และ สมศ.) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล 3 จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร 5 ดีมาก 4.1.3 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ความสามารถด้านภาษาต่าง ประเทศ (ยังรอข้อมูลจากมหาวิทยาลัย)

ของ สมศ.(1 ปี) ปีการศึกษา 2553 ตารางแสดงผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ ของ สมศ.(1 ปี) ปีการศึกษา 2553 ตัวบ่งชี้ คะแนน ผลการ ถ่วงน้ำหนัก ประเมิน ตัวบ่งชี้พื้นฐาน (15 ตัวบ่งชี้) 4.55 ดีมาก ด้านคุณภาพบัณฑิต 4.45 ดี ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 5.00 ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม 4.88 ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ไม่คิดคะแนน 4.00 ด้านการบริหารและพัฒนาสถาบัน 4.14 ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 4.08 ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ (3 ตัวบ่งชี้) 3.97 ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม (2 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้พันธกิจหลักของสถาบัน (ตัวบ่งชี้ที่ 1- 11) 4.76 ภาพรวม 4.38

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ชื่อตัวบ่งชี้ 2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  1. มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบที่กำหนด ภาควิชาใช้ระบบกลไกในการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางของ สกอ. ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 2. มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดำเนินการตามระบบที่กำหนด ใช้ระบบและกลไกในการเปิดสอนหลักสูตรตาม สกอ. แต่ภาควิชายังไม่มีการปิดหลักสูตร

 3. หลักสูตรของภาควิชาฯ ทั้ง 2 สูตร คือ ทุกหลักสูตรมีการดำเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน” กรณีที่หลักสูตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้กลางที่กำหนดในภาคผนวก ก) สำหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย (หมายเหตุสำหรับหลักสูตรเก่าหรือหลักสูตรปรับปรุงที่ยังไม่ได้ดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติก่อนปีการศึกษา 2555 ให้ยึดตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 ) หลักสูตรของภาควิชาฯ ทั้ง 2 สูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) และ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์) อยู่ระหว่างการปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานซึ่งจะดำเนินการให้แล้วเสร็จและใช้ในปีการศึกษา 2555

ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการครบถ้วนทั้งข้อ1. 2. และ ข้อ3. ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กำหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดม ศึกษาแห่งชาติจะต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กำหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร มีการดำเนินการประเมินหลักสูตรทั้ง 2 หลักสูตรตามกรอบเวลาที่กำหนดโดยมีคณะกรรมการระดับภาควิชา ระดับคณะ และระดับมหาวิทยาลัยเป็นผู้ดูแลกำกับ 5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ1 2และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ 4 กรณีหลักสูตรที่ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมินครบทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรทั้ง 2 หลักสูตร มีการดำเนินการผ่านขั้นตอนของคณะกรรมการวิชาการคณะฯ สำหรับระดับปริญญาตรี และคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาในระดับปริญญาโท และมีคณะกรรมการของมหาวิทยาลัยควบ คุมกำกับทั้ง 2 หลักสูตร

ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  6. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจำนวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหลักสูตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง) ภาควิชามีหลักสูตรระดับบัณฑิต ศึกษาคือ ปริญญาโท(สัตวศาสตร์) 1 หลักสูตร ในส่วนปริญญาตรีเป็นหลักรวมวิทยาศาสตรบัณฑิตเกษตร 7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจำนวนนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตรมากกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง) นักศึกษาปริญญาตรี 229 คน จำนวนนักศึกษาปริญญาโท13 คน คิดเป็นร้อยละ 5.37

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ภาควิชาสัตวศาสตร์มีคณาจารย์ทั้งหมด 13 คน วุฒิปริญญาโท จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 53.85 วุฒิปริญญาเอก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ภาควิชาสัตว์ศาสตร์มีคณาจารย์ทั้งหมด 13 คน ตำแหน่งอาจารย์ 3 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 4 คน รองศาสตราจารย์ 6 คน รวมดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ คิดเป็นร้อยละ 46.15

ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ ภาควิชาฯ ได้มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร 2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด มีการสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการพัฒนา อบรม ประชุมวิชาการ ดูงานทั้งในและต่างประเทศ 3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกำลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสัมมนาภาควิชาประจำปี และภาควิชาส่งเสริมให้บุคลากรเข้าร่วมการแข่งกีฬาบุคลากร

 4. 5. 6. 7. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนำความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ภาควิชาฯ มีการจัดการโครงการพัฒนางานโดยให้บุคลากรสายสนับสนุนของภาควิชาฯ นำเสนอรายงานที่ได้ไปแล้วพร้อมรายงานพร้อมแผนปฏิบัติงาน ในส่วนของสายอาจารย์มีการแจ้งผลการเข้าร่วมประชุ ม อบรมในวารแจ้งเพื่อทราบ 5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ มหาวิทยาลัยได้มีการจัดทำคู่มือ จรรยาบรรณให้กับบุคลากร 6. มีการประเมินผลความสำเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน มีการพิจารณาข้อมูลจากจำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาฯ 7. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน มีการนำข้อมูลไปใช้ในการจัดทำงบประมาณในการใช้พัฒนาบุคลากร

คณะฯ มีบริการเรื่องคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ชื่อตัวบ่งชี้ 2.5 : ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  1. มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า8 FTES ต่อเครื่อง คณะฯ มีบริการเรื่องคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 2. มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา คณะมีการจัดการให้บริการห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการศึกษาค้นคว้าผ่าน Internet และมหาวิทยาลัยได้ให้บริการห้องสมุดโดยมีการแนะนำการใช้งานให้นักศึกษา และภาควิชามีการติดตั้งจุดบริการการใช้ Internet

- อีกทั้งมีสถานที่จำหน่ายอาหารให้แก่นักศึกษาและบุคลากร ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  3. มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษาและจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต คณะมีจุดเชื่อมต่อ Internet แบบไร้สายทุกอาคารเรียน และภาควิชามีการติดตั้งจุดเชื่อมต่อ Internet ที่ห้องนักศึกษาปริญญาโท 207 4. มีบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหาร และสนามกีฬา - คณะมีการจัดอุปกรณ์เพื่องานการเรียนการสอนประจำห้องเรียนมีการติดตั้งอินเตอร์เน็ตไร้สายกระจายทุกพื้นที่ - อีกทั้งมีสถานที่จำหน่ายอาหารให้แก่นักศึกษาและบุคลากร

- ภาควิชามีการให้บริการเครื่องกรองน้ำดื่มใช้ให้บริการในฟาร์มภาควิชา ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบอย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ภาควิชามีการให้บริการเครื่องกรองน้ำดื่มใช้ให้บริการในฟาร์มภาควิชา - คณะมีระบบความปลอดภัยโดยมีการจัดเวรยาม - มีถังดับเพลิงกระจายทุกพื้นที่ - มีการใช้ระบบกล้องวงจรปิด  6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ยังไม่มีการดำเนินการ 7. มีการนำผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผู้รับบริการ

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ชื่อตัวบ่งชี้ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร ภาควิชามีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยจะเป็นลักษณะการเรียนการสอนที่เน้นปฏิบัติ และประสบการณ์จริง 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตรมีราย ละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม(ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ทุกรายวิชาของภาควิชามีการจัดทำโครงร่างรายวิชาก่อนเปิดภาคการศึกษา โดยจัดส่งให้ภาควิชา 1 ชุด

ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย หลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาโท จะมีรายวิชาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่นวิชา 515-497 สัมมนา (ป.ตรี) 515-597 สัมมนา (ป.โท) 515-498 ปัญหาพิเศษ (ป.ตรี) 515-598 ปัญหาพิเศษ (ป.โท) 515—699 วิทยานิพนธ์ 4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร ภาควิชาฯได้เชิญผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงหลักสูตรทุกครั้งทุกหลักสูตรที่ปรับปรุง

มีการนำผลงานวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มีการนำผลงานวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า3.51 จากคะแนนเต็ม 5 คณะฯได้ดำเนินการให้นักศึกษาประเมินคณาจารย์ผู้สอน ในรายวิชาก่อนหมดภาคการศึกษา โดยมีคะแนนประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.53 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา ภาควิชาได้มีการนำผลการประเมินเวียนผู้สอนทราบเพื่อนำไปพิจารณาในการพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาต่างต่อไป

ชื่อตัวบ่งชี้ 2.7 : ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  1. มีการสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยสำหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกำหนดการศึกษาของหลักสูตร มหาวิทยาลัยมีการดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ภาควิชาใช้ผลจากข้อมูลของมหาวิทยาลัยมาใช้ 2. มีการนำผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนการวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต นำข้อมูลจากการสำรวจมาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรที่กำลังดำเนินการ

ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  3. มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต มีระบบการคัดเลือกบุคลากร การจัดห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สำหรับนักศึกษา 4. มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ - มีแนวปฏิบัติให้นักศึกษาปริญญาโทนำเสนอผลงานวิจัยหรือตีพิมพ์ตามแบบฟอร์ม บว 4/1 - มีงบประมาณสนับสนุนในการไปนำเสนอผลงาน 5. มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบัน มีการจัดกิจกรรมที่แสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม

ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  6. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทำบทความจากวิทยานิพนธ์และมีการนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ (เฉพาะกลุ่ม ง) มีการส่งเสริมนักศึกษาร่วมเข้าประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยและตีพิมพ์เผยแพร่

อดทน กตัญญู รู้งาน สานสามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ชื่อตัวบ่งชี้ 2.8 :ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ที่จัดให้กับนักศึกษา ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  1. มีการกำหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร -ภาควิชาใช้แนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัย -ภาควิชามีการกำหนดอัตลักษณ์ของนักศึกษา 2. มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน ภาควิชามีการประชุมปฐมนิเทศนักศึกษาเพื่อแจ้งแนวปฏิบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม และอัตลักษณ์ของนักศึกษา อดทน กตัญญู รู้งาน สานสามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม

ประเมินตนเอง ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน  3. มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่กำหนดในข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสำเร็จ มีกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กำหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้ ภาควิชาฯ ไม่มีการประเมินกิจกรรม 5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณ ด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ ไม่มีนักศึกษาที่ได้รับรางวัลระดับชาติ

ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 2 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม