แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Sulperazon.
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
วิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุบนโครงข่ายถนน
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
แนวคิดใหม่ ๆ ในการทำให้ รถจักรยานยนต์ปลอดอุบัติเหตุ
วันหยุดนักขัตฤกษ์ที่สงขลา มีอุบัติเหตุขนส่ง สูงกว่า
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์การเงินการคลัง
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานระบาดวิทยา 5 มิถุนายน 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
พันตำรวจเอกหญิง จันทนา วิธวาศิริ
บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้
อุทัยวรรณ สกลวสันต์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลน่าน
การดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2552
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
ไข้เลือดออก.
รายงานสถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2552
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง
การศึกษาการใช้เข็มขัดนิรภัย และผลกระทบจากการใช้
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
สรุปอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2549
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
คำถาม 1. เด็กสาว อายุ 15 ขับรถสองแถวผิด กฎหมายใด 2. ค่าทดแทนวันละ บาท ไม่เกิน 20 วัน สำหรับคนไข้ ในของโรงพยาบาล ตาม พ. ร. บ. จ่ายอย่างไร 3. รถในพื้นที่น้ำท่วม.
การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ ปี 2556 จังหวัดภูเก็ต
การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2550
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
รายงานผลการดำเนินงานงบบำรุงปกติ ไตรมาส 3
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี 2548-2549 แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี 2548-2549

คำนำ วัตถุประสงค์ : เพื่อติดตามภาพรวมอุบัติการณ์ของอุบัติเหตุจากโรงพยาบาลสงขลา-นครินทร์ และโรงพยาบาลสงขลา แหล่งข้อมูล : ได้รับข้อมูลจาก 2 แหล่งคือ งานเวชระเบียนโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลสงขลา รายละเอียดข้อมูลที่นำเสนอ - โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน : จำแนกเพศ และกลุ่มรถจักรยานยนต์ ผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล : จำแนกเพศ และกลุ่มรถจักรยานยนต์ ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน : จำนวน อายุ และพาหนะ เปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยปี 2548-2549 : จำนวน และอายุ - โรงพยาบาลสงขลา : ผู้ป่วยทั้งหมด : จำแนกรายเดือน รถจักรยานยนต์ และรถจักรยานยนต์รักษาแล้วกลับบ้าน เปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยปี 2548-2549 : จำนวน และรถจักรยานยนต์

รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รักษากลับบ้าน : หญิง/ชาย จำนวน

รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รักษากลับบ้าน : จยย.ชาย/จยย. จำนวน

รพ.สงขลานครินทร์ 2549 : รักษากลับบ้าน คำชี้แจงข้อมูล : ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 3,018 ราย เฉลี่ย = 251 ราย/เดือน เพศชาย 1,699 ราย = 56% (1,699/3,018) เพศหญิง 1,319 ราย = 44% (1,319/3,018) จยย.ทั้งหมด 2,506 ราย = 83% (2,506/3,018) จยย.เพศชาย 1,412 ราย = 56% (1,412/2,506) ข้อสังเกต : ไม่มีเดือนใดที่มีจำนวนเด่นอย่างชัดเจน แต่อาจเป็นเดือนมิถุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม

รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รับไว้รักษา : หญิง/ชาย จำนวน

รพ.สงขลานครินทร์ 2549 รับไว้รักษา : จยย.ชาย/จยย. จำนวน

รพ. สงขลานครินทร์ 2549 : รับไว้รักษา คำชี้แจงข้อมูล : ผู้ป่วยรับไว้รักษา 1,060 ราย เฉลี่ย = 88 ราย/เดือน เพศชาย 751 ราย = 71% (751/1,060) เพศหญิง 309 ราย = 29% (309/1,060) จยย.ทั้งหมด 814 ราย = 77% (814/1,060) จยย.ชาย 597 ราย = 73% (597/814) ข้อสังเกต : เดือนเมษายน และเดือนสิงหาคมมีจำนวนผู้บาดเจ็บสูงสุด 112 ราย

รพ. สงขลานครินทร์ 2549 : เสียชีวิตก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน รพ. สงขลานครินทร์ 2549 : เสียชีวิตก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน คือ เสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุ หรือก่อนมาถึงห้องฉุกเฉิน จำนวน : 13 ราย ชาย 12 ราย หญิง 1 ราย อายุ : ระหว่าง 9-55 ปี อายุเฉลี่ย = 30 อายุระหว่าง 9-25 ปี จำนวน 9 ราย = 69% พาหนะ : จยย.10 ราย รถบรรทุก 1 ราย รถยนต์ 1 ราย ไม่ระบุพาหนะ 1 ราย

เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รักษากลับบ้าน : จำนวน % ของผู้ป่วย/เดือนของปี

เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รักษากลับบ้าน : อายุ % ของผู้ป่วยแต่ละปี

2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รักษากลับบ้าน คำชี้แจงข้อมูล : จำนวน ปี 2548 ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 2,983 ราย เฉลี่ย = 249 ราย/เดือน ปี 2549 ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 3,018 ราย เฉลี่ย = 252 ราย/เดือน ข้อสังเกต : เปรียบเทียบจากสัดส่วนค่าเฉลี่ยของแต่ละปี พบว่า โดยภาพมีมีสัดส่วนใกล้เคียง นอกจากเดือนพฤษภาคม และสิงหาคม มีจำนวนผู้บาดเจ็บเพิ่มขึ้น แต่เดือนกันยายนกลับมีผู้บาดเจ็บลดลง อายุ ภาพรวมผู้บาดเจ็บ ปี 2548 และ 2549 ไม่แตกต่างกัน คือสัดส่วนผู้บาดเจ็บ ~ 80% อายุต่ำกว่า 35 ปี และ ~ 50% อายุระหว่าง 15-25 ปี ข้อสังเกต : พฤติกรรมของผู้ใช้รถกลุ่มเยาวชน-คนหนุ่มสาว ไม่เปลี่ยนแปลง

เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รับไว้รักษา : จำนวน % ของผู้ป่วย/เดือนของปี

เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รับไว้รักษา : อายุ % ของผู้ป่วยแต่ละปี

2548-2549 (รพ.สงขลานครินทร์) รับไว้รักษา คำชี้แจงข้อมูล : จำนวน ปี 2548 ผู้ป่วยรับไว้รักษาในโรงพยาบาล 877 ราย เฉลี่ย = 73 ราย/เดือน ปี 2549 ผู้ป่วยรับไว้รักษาในโรงพยาบาล 1,060 ราย เฉลี่ย = 88 ราย/เดือน ข้อสังเกต : ภาพรวมผู้ป่วยบาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล มีจำนวนเพิ่มขึ้น 20% เมื่อเปรียบเทียบจากสัดส่วนค่าเฉลี่ยรายเดือน พบว่า เดือนเมษายน สูงขึ้นมาก อายุ ภาพรวมผู้บาดเจ็บที่รับไว้รักษา ปี 2548 และ 2549 ไม่แตกต่างกัน คือสัดส่วนผู้บาดเจ็บ ~ 70% อายุต่ำกว่า 35 ปี และ ~ 35% อายุระหว่าง 15-25 ปี

รพ.สงขลา 2549 : จยย.รักษากลับบ้าน/จยย./จำนวนผู้ป่วย

เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลา) จำนวนผู้ป่วยรายเดือน % ของผู้ป่วย/เดือนของปี

เปรียบเทียบ 2548-2549 (รพ.สงขลา) จยย. และจยย.รักษาแล้วกลับบ้าน % ต่อค่าเฉลี่ย/ปี

2548-2549 (รพ.สงขลา) : จำนวน จยย. และ จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน คำชี้แจงข้อมูล : ปี 2548 - ผู้ป่วยทั้งหมด 4,683 ราย เฉลี่ย = 390 ราย/เดือน - จยย.ทั้งหมด = 82%(3,841/4,683) - จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน = 75%(2,871/3,841) ปี 2549 - ผู้ป่วยทั้งหมด 5,191 ราย เฉลี่ย = 433 ราย/เดือน - จยย.ทั้งหมด = 82%(4,271/5,191) - จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน = 76%(3,260/4,271)