ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Central Processing Unit
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ราคา 19,990 บาท Dell inspiron N V560837TH
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
1.
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Content ระบบคอมพิวเตอร์ (An Overview of the Computer System) องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2.1 Hardware 2.2 Software 2.3 Peopleware 2.4 Data / Information 2.5 Procedure 2.6 Data Communication การนำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ประเภทของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์เครื่องมือสารพัดประโยชน์ ( The Multipurpose Tool ) คอมพิวเตอร์คืออะไร? A computer is a machine for manipulating data according to a list of instructions. เป็นเครื่องมือทาง electronic ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ ช่วยให้การทำงานเป็นไปรวดเร็ว ถูกต้อง มากยิ่งขึ้น Speed Reliability Accurate Storage Communication

การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ Storage Input Processing Output

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ Hardware Software Peopleware Data / Information Procedure Data communication

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Hardware

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก ตัวเครื่องแบบ Desktop ตัวเครื่อง (Case) ตัวเครื่องแบบ Desktop ตัวเครื่องแบบ Tower

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก Monitor แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ Cathode ray tube (CRT) Flat-panel display

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก จอภาพ (Monitor) จอภาพแบบ CRT จอภาพแบบ LCD

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) คีย์บอร์ดชนิด PS/2 หัวต่อแบบ PS/2 และ USB

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก เม้าท์ (Mouse) หัวต่อแบบ PS/2 และ USB เม้าท์ชนิด USB

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องพิมพ์แบบ Dot Matrix เครื่องพิมพ์แบบ Laser

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก Plotter เป็นอุปกรณ์พิเศษสำหรับการพิมพ์ภาพที่มีขนาดใหญ่มากๆ เช่นวิศวกรอาจใช้สำหรับการพิมพ์แปลนบ้าน เป็นต้น

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก เครื่องสำรองไฟฟ้า (UPS) เครื่องสำรองไฟ

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก ลำโพง (Speaker)

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก กล้องวีดีโอ รับภาพจาก PC video camera เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ มักใช้สำหรับ Video Conferencing PC video camera จะเปลี่ยนสัญญาณภาพที่ได้ให้อยู่ในรูปของ Pixel (จุด) และบีบอัดให้ไฟล์ที่ได้มีขนาดเล็กเพื่อที่จะส่งผ่านระบบเครือข่ายได้ Video Card ทำให้ผู้ใช้สามารถนำไฟล์จาก VCR หรือ Camcorders เข้าสู่เครื่อง PC และในทางกลับกันได้

อุปกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก กล้องวีดีโอ

อุปกรณ์ภายในตัวเครื่อง

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง แผงวงจรหลัก (Mainboard)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง หน่วยความจำหลัก (Main Memory)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง จานแม่เหล็กบันทึกข้อมูลชนิดแข็ง (Hard Disk)

Hard Disks

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง เครื่องอ่านแผ่นดิสก์ (Floppy Drive)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง เครื่องอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงแผ่น CD (CD Drive) ชนิดของเครื่องอ่าน - CD ROM - CD Writer - DVD ROM - CD Combo - DVD Writer

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง อุปกรณ์กำเนิดเสียง (Sound Card)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง อุปกรณ์ควบคุมการแสดงผลทางจอภาพ (Display Controller Card)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า (Power Supply)

อุปกรณ์ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง อุปกรณ์สื่อสารข้อมูลสำหรับต่อพ่วงภายใน (Internal Communication Device)

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Hardware คือลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สำคัญคือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง

Buses Buses are electronic paths that data travels around on a computer system. Internal buses move data around within the CPU. Expansion buses establish links with peripheral devices. ISA, PCI, AGP, USB, FireWire.

Ports Connectors to which devices can be attached. Common ports: Keyboard Mouse Monitor Modem MIDI IrDA Game Serial Parallel SCSI USB FireWire Network

องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยความจำรอง Communication Devices หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล Control Unit ALU หน่วยความจำหลัก

หน่วยประมวลผลกลาง Processor เสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการสั่งงาน ควบคุมให้ส่วนอื่นๆทำงานตามคำสั่งที่ได้รับ ประกอบด้วยส่วนย่อยๆเรียก Transistor ขนาดประมาณ 0.25-0.13 ไมครอน จำนวน 10-30 ล้านตัว หน่วยประมวลผลกลาง ก็คือ CPU (Central Processing Unit) ) หรือ Processors CPU ประกอบด้วย หน่วยควบคุม (Control Unit : CU) หน่วยคำนวณ/ตรรกะ (Arithmetic Logic Unit : ALU) ปัจจุบันมีผู้ย่อหน่วยนี้ลงบนแผ่นวงจรเล็กๆ (Chip) และเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor)

หน่วยประมวลผลกลาง Processor ถ้า CPU ทำงานได้เร็วเท่าไร ก็จะทำให้การทำงานของ คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีความเร็วสูงด้วย โดยการทำงานของChip Microprocessors นี้ จะ ทำงานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เมื่อมีการเคาะจังหวะ 1 ครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรมใน CPU 1 ครั้ง เราเรียกหน่วยที่ ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า "เฮิร์ท" (Hertz) หมายถึงการทำงานได้กี่ครั้ง ใน 1 วินาที

หน่วยประมวลผลกลาง Processor CPU ในปัจจุบันมีความเร็วสูงมากตั้งแต่ประมาณ 500-1000ล้านครั้งต่อวินาที เราจะเรียก CPU นั้นว่าเป็น CPU ที่มีความเร็ว เท่ากับ 500-1000 MHz เช่น Intel Pentium IV 1 GHz จะหมายถึง CPU ของบริษัท Intel รุ่น Pentium Four ที่มีความเร็วในการทำงาน 1000 ล้านครั้งต่อวินาที เป็นต้น

องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยความจำรอง Communication Devices หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล Control Unit ALU หน่วยความจำหลัก

หน่วยความจำหลัก Main Memory เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่ง ทั้งก่อนและหลังการประมวลผล ตามสถาปัตยกรรมในการออกแบบคอมพิวเตอร์ CPU จะประมวลผลข้อมูลหรือคำสั่งที่อยู่ใน Memory เท่านั้น ดังนั้นก่อนการประมวลผล Data หรือ Program ต้องถูกนำมาไว้ในหน่วยความจำก่อนเสมอ หรือเรียกว่า Random Access Memory (RAM)

หน่วยความจำหลัก Main Memory ใช้เก็บข้อมูล และคำสั่ง(โปรแกรม) และผลลัพธ์ มี 3 ชนิด ROM (Read Only Memory) ใช้บันทึกคำสั่งไว้ อย่างถาวร อ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขได้ RAM (Random Access Memory) ใช้บันทึกข้อมูล และคำสั่งขณะที่เราทำงาน สามารถ อ่านหรือเขียนข้อมูลได้ แต่ข้อมูลเหล่านี้จะหายไป เมื่อมีการรับข้อมูลใหม่ หรือปิดเครื่อง Cache เป็นหน่วยความจำที่ใช้บันทึกเก็บข้อมูลชั่วคราวก่อนส่งให้คอมพิวเตอร์ใช้และช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็ว

หน่วยวัดความจุของ RAM 1 Byte = 1 ตัวอักษร = 8 Bit เช่น 01000001=‘A’ Kilobyte (KB) = 1024 Bytes Megabyte (MB) = 1024 Kilobytes Gigabyte (GB) = 1024 Megabytes Terabyte (TB) = 1024 Gigabytes

องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยความจำรอง Communication Devices หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล Control Unit ALU หน่วยความจำหลัก

หน่วยความจำรอง Storage

หน่วยความจำรอง Storage หน้าที่ จำข้อมูลหรือคำสั่งได้ (เหมือนกับ Memory) แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยง ข้อแตกต่างระหว่าง storage and memory: สามารถจำข้อมูลหรือคำสั่งได้ แม้ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปมีขนาดในการเก็บข้อมูลใหญ่กว่า เช่น Storage = 80 GB = 80,000 MB Memory = 256 MB ราคาต่อหน่วยถูกกว่า Storage = 80 GB = 80,000 MB = 3000 บาท, Memory = 256 MB = 1000 บาท

1. Access Time 2. Capacity 3. Speed 4. Cost Memory VS Storage ความเร็วในการทำงาน RAM Hard disk COMPACT DISC FLOPPY DISC TAPE เร็ว ราคา แพง ช้า ถูก ช้า 1. Access Time 2. Capacity 3. Speed 4. Cost

องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยความจำรอง Communication Devices หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล Control Unit ALU หน่วยความจำหลัก

หน่วยรับข้อมูล

องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยความจำรอง Communication Devices หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล Control Unit ALU หน่วยความจำหลัก

ชุดคำสั่ง โปรแกรม Software เป็นชุดคำสั่งที่จะสั่งงานให้ computer ทำงาน ซอฟต์แวร์ระบบ System Software ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software

ชุดคำสั่ง โปรแกรม Software System Software (ซอฟแวร์ระบบ) เป็นชุดคำสั่งในการควบคุม สั่งงาน การทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ,ทั้งการสร้างระบบติดต่อกับผู้ใช้ (Interface), และจัดการกับซอฟแวร์ประยุกต์ที่กำลังทำงานอยู่ เช่น DOS, Windows 98 เป็นต้น Application Software (ซอฟแวร์ประยุกต์) เป็นชุดคำสั่งที่ได้รับการออกแบบให้ทำงานเน้นเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเป็นหลัก เช่น การทำรายงาน เอกสาร (word processing software) หรือ การจัดการกับฐานข้อมูล (Database Management Software)

ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ Peopleware คนที่ใช้ computer จะเรียกอีกชื่อว่า End User. รวมทั้งบุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ๆไม่ว่าด้านฮาร์ดแวร์ หรือ ซอฟแวร์ เช่น โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ ช่างซ่อม ฯลฯ

ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ Peopleware ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ฯลฯ

ข้อมูลและสารสนเทศ Data ข้อมูลที่ดี = ถูกต้อง + เป็นปัจจุบัน + สมบูรณ์ Data/Information คือทรัพยากรที่สำคัญของหน่วยงานมีหลายลักษณะ ข้อมูลตัวเลข นำไปคำนวณได้ ข้อมูลข้อความ เช่น ชื่อ, ที่อยู่-ข้อมูลรูปภาพ เช่น ภาพบุคลากร ข้อมูลภาพลักษณ์ เช่น ข้อมูลภาพลักษณ์ เอกสารที่สะแกนเก็บไว้ใช้แสดงข้อมูล ข้อมูล หรือ Data หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจริง สารสนเทศ หรือ Information หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลไปผ่าน กระบวนการหนึ่งก่อน ข้อมูลที่ดี = ถูกต้อง + เป็นปัจจุบัน + สมบูรณ์

Procedures กระบวนการทำงาน หรือ Procedures หมายถึงขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะบางอย่างจากคอมพิวเตอร์ การปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ในส่วนต่างๆ มักมีขั้นตอนสลับซับซ้อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจนด้วย

Data Communication การสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ คือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทอรนิกส์ ซึ่งเชื่อมต่อกันอยู่ด้วยสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง

การนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน การนำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ Business Medicine and Health Care Education Science Engineering Manufacturing Legal Practice Law Enforcement Government The Military Music Theater, Film, and Television Computer at Home

Science-การประยุกต์ใช้ด้านวิทยาศาสตร์

Science

Engineering Computer-Aid Design (CAD)

Theater, Film, and, Television Special Effects-การประยุกต์ใช้ด้านบันเทิง เช่น ภาพยนต์ เพลง ผลิตสื่อต่างๆ เป็นต้น

ประเภทของคอมพิวเตอร์ Supercomputer Mainframe Minicomputer Microcomputer

Super Computer จัดเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เทียบได้กับคอมพิวเตอร์ทั่วไปเป็นพันๆ เครื่อง ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่มีจำนวนมาก และต้องการประมวลผลที่เร็วมาก เช่น NASA, การพยากรณ์อากาศ,เป็นต้น ผู้ใช้สามารถเข้ามาใช้ข้อมูลหรือประมวลผลพร้อมกัน (ผ่าน Terminal) ได้เป็นพันๆเครื่อง ราคาประมาณ $20 million

Super Computer

Main Frame จัดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีประสิทธิภาพสูง ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่มีจำนวนมาก ต้องการการประมวลผลที่รวดเร็ว เช่น ในองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ ธนาคารที่มีสาขาทั่วโลกหรือทั่วประเทศ ผู้ใช้สามารถเข้ามาใช้ข้อมูลหรือประมวลผลพร้อมกัน (ผ่าน Terminal) ได้เป็นพันๆเครื่อง ราคาประมาณ $300,000

Mainframe

MiniComputer จัดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง ประสิทธิภาพอยู่ระหว่าง Mainframe และ PC Computer ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่ต้องการประสิทธิภาพสูงกว่า PC เช่น องค์กรขนาดกลาง ไฟแนนซ์ มหาวิทยาลัย ผู้ใช้สามารถเข้ามาใช้ข้อมูลหรือประมวลผลพร้อมกัน (ผ่าน Terminal) ได้สูงประมาณ 4,000 เครื่อง Cost $5,000 to $150,000

MiniComputer

MicroComputer จัดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูก เหมาะในการใช้งานส่วนตัว ใช้ในสำนักงาน หรือองค์การขนาดเล็ก หรือเรียกว่า Personal Computer (PC) Microcomputer เครื่องแรก IBM-PC Macintosh is a microcomputer made from Apple Computer คอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยลอกเลียนสถาปัตยกรรมของ IBM เรียกว่า IBM-Compatibles

MicroComputer

Desktop Model

Notebook Computer

Personal Digital Assistants (PDAs)

คำถาม