การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่มาของความคิดมนุษย์
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
The Nature of technology
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
The General Systems Theory
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การเขียนรายงานการวิจัย
จอห์น ซี แม็คเวล (John C Maxwell) กล่าวว่า
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์ วิชาแนวความคิดว่าด้วยการพัฒนา สส.314

คุณสมบัติหลัก 3 ประการของทฤษฎีว่าด้วยการพัฒนา ทฤษฎีมีลักษณะเปรียบเทียบ : ความหมายของการพัฒนาควรมีการเปรียบเทียบ ไม่ตายตัว มีเข็มมุ่ง : การพัฒนาต้องเชื่อมโยงจุดหมายปลายทางอันหนึ่ง ตย.เข็มมุ่งคือ แบบของการพัฒนาแล้ว มีค่านิยมสอดแทรกอยู่ : ความคิดการพัฒนาชุดหนึ่งกลายเป็นจุดศูนย์กลางหรือสิ่งที่ชอบธรรม

ข้อเสนอของเพนนอค : จุดหมายปลายทางของการพัฒนา ข้อเสนอของเพนนอค : จุดหมายปลายทางของการพัฒนา ค่านิยมแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ค่านิยมระดับสูง : การมีเสรีภาพ ศักดิ์ศรี 2. ค่านิยมระดับต่ำ : การกระจายรายได้ การบริโภค เป้าหมายการพัฒนาควรอยู่ที่ค่านิยมระดับสูง ค่านิยมระดับต่ำควรถูกนำมาใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายระดับสูง แต่ปัจจุบันพูดแต่ระดับต่ำทำให้ลืมจริยธรรมบางอย่างไป

การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาย่อมมีการเปลี่ยนแปลง แต่การเปลี่ยนแปลงไม่จำเป็นต้องเป็นการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงให้ทันสมัยกับการพัฒนาไม่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกัน การพัฒนาแบบจารีตประเพณี กับการพัฒนาแบบทันสมัย เป็นคนละขั้ว?? และเป็นการพัฒนา ????

กรอบการพิจารณาทฤษฎี จุดมุ่งหมายของการพัฒนา ข้อวินิจฉัยมูลเหตุของปัญหากล่าวไว้อย่างไร มีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร มีเครื่องมืออะไรที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการพัฒนา ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์

1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. คุณค่าของมนุษย์ในระดับสูง และระดับต่ำ 2. ค่านิยมในระดับต่ำที่เป็นรูปธรรมต้องแสดงให้ชัดเจนว่า สังคมรูปแบบใดเป็นสังคมที่ต้องการ 3. จุดมุ่งหมายทั้ง 2 ระดับสัมพันธ์กันหรือไม่ (เกื้อหนุนคุณค่าของมนุษย์อย่างไร)

2. ข้อวินิจฉัยมูลเหตุของปัญหากล่าวไว้อย่างไร ทฤษฎีเห็นว่าสภาพการณ์เป็นอย่างไร ปัจจัยใดเป็นอุปสรรคต่อการได้มาซึ่งคุณค่าเหล่านั้น

3. มีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร ข้อเสนอต่อปัญหาในข้อ 2

4.มีเครื่องมืออะไรที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการพัฒนา ใช้ชี้วัดความเป็นจริงทางสังคมอย่างไร ผลกระทบต่อสังคมมีอย่างไรบ้าง

5. ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ - คนกลุ่มใดได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ หากมีการใช้ทฤษฎีข้างต้น

ตัวอย่างการวิพากษ์ทฤษฎีกระแสหลัก

1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนา การหลุดพ้นจากความขาดแคลนทางวัตถุ การหลุดพ้นจากความกลัว มีความพึงใจในตนเองของมนุษย์ คุณค่าระดับต่ำ - สังคมที่ก้าวหน้าแบบตะวันตก ได้กลายเป็นแม่แบบของการพัฒนา เช่น มีเศรษฐกิจสูง บริโภคสูง มีการเติบโตของรายได้บุคคลสูง มีโครงสร้างเฉพาะกิจที่มีขนาดใหญ่และสลับซับซ้อน

2. ข้อวินิจฉัย ความขาดแคลนของทรัพยากรธรรมชาติ ทุน ความชำนาญทั่วไปของมนุษย์ ทำให้สังคมยังไม่พัฒนา สภาวะแวดล้อมเป็นอุปสรรค โครงสร้างสังคมมีขนาดเล็กและไม่มีโครงสร้างซึ่งทำหน้าที่เฉพาะ

2. ข้อวินิจฉัย - สังคมที่มีกากเดนของระบบศักดินาหลงเหลืออยู่ คนในสังคมมีทัศนคติและระบบความเชื่อที่งมงาย ยังหลงเชื่อในปาฏิหาริย์

3. แนวทางในการแก้ปัญหา ต้องมีการทุ่มทุนและความชำนาญอย่างมหาศาลจากภายนอกเข้าสู่สังคมที่ยังไม่พัฒนา โดยเฉพาะในรูปของความช่วยเหลือและการลงทุนที่มุ่งสู่อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และเกษตรกรรมเพื่อการส่งออก มีการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญ

3. แนวทางในการแก้ปัญหา มีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติโดยผ่านการศึกษา การกล่อมเกลาทางสังคม กระบวนการข้างต้นจะทำให้เกิดชนชั้นผู้ประกอบการทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง มีเงินออมมากขึ้น รายได้ของประชากรในประเทศสูงขึ้น

4. การวัด รายได้จากการส่งออก การอุปโภคและการบริโภคสินค้าและบริการมากขึ้น จำนวนผู้มีงานทำในระบบเศรษฐกิจเงินตรา อัตราส่วนของผู้ใช้แรงงานในภาคอุตสาหกรรม

5. ใครได้ใครเสีย คนงานในอุตสาหกรรม คนชนชั้นนำในสังคม

บรรณานุกรม พฤทธิสาณ ชุมพล(ผู้แปล). มองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.2530. Ritzer, George. Sociological theory. New York : McGraw-Hill, c1992