COE2010-05 เครื่องตั้งสายกีต้าร์และเมโทรโนม ระยะที่ 2 Guitar Tuner & Metronome Phase II อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล ดร.วาธิส ลีลาภัทร โดย นายเปี่ยมศักดิ์ นัยกุล รหัส 503040244-4 นายวศกร คำเพราะ รหัส 503040256-7
Outline วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ระบบของเครื่องตั้งสายกีต้าร์ วงจรเครื่องตั้งสายกีต้าร์ การทำงานของวงจรเครื่องตั้งสายกีต้าร์
วัตถุประสงค์ของโครงการ พัฒนาเครื่องตั้งสายกีต้าร์ โดยใช้การขัดจังหวะของ timer/counter ใน ไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อหาคาบเวลาของสัญญาณกีต้าร์ แล้วแปลง เป็นความถี่ ใช้การขัดจังหวะของ timer/counter ในไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อสร้าง เมโทรโนม
แผนการดําเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ศึกษาข้อมูลเครื่องตั้งสายกีต้าร์บางยี่ห้อและศึกษาโครงงานระยะที่ 1 ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือส่วนกลไก แก้ไขและเพิ่มเติม เพื่อแก้ไขปัญหาจากระยะที่ 1 วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบเพื่อตรวจดูความเป็นไปได้และความถูกต้อง สร้างวงจรส่วนเครื่องตั้งสายและไมโครคอนโทรลเลอร์ สร้างวงจรเมโทรโนมและไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรวจสอบระบบและการทำงานเมื่อรวมวงจรทั้งสองส่วน ทำ PCB และอุปกรณ์สำเร็จ เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ ดำเนินการ ดำเนินการช่วงถัดไป
ระบบของเครื่องตั้งสายกีต้าร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ แสดงผล LCD ไมโครคอนโทรลเลอร์
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ วงจรตัด Noise วงจร Buffer วงจรขยายแรงดันแบบ automatic Gain วงจร low-pass filter Bessel อันดับที่ 4 วงจร peak detector วงจรเปรียบเทียบแรงดัน
วงจรตัด Noise
LED ที่ติดกับ LDR
วงจร Buffer
วงจรขยายแรงดันแบบ Automatic Gain
วงจรขยายแรงดันแบบ Automatic Gain (ต่อ)
วงจร low-pass filter bessel อันดับที่ 4 วงจรจากการจำลองวงจรจากการใช้โปรแกรม filter lab
วงจร low-pass filter bessel อันดับที่ 4 (ต่อ)
วงจร peak detector
วงจรเปรียบเทียบแรงดัน
การทำงานของเครื่องตั้งสายกีต้าร์
การทำงานของเครื่องตั้งสายกีต้าร์ (ต่อ)
คำถาม & คำตอบ