Phylum Annelida อ.แน็ต
Phylum Annelida Segmented body metamerism Setae Absent in leeches Eucoelom divided by septa Closed circulatory system Nephridia for each segment
Metamerism
Eucoelomate บุด้วย peritoneum ภายใน coelom มี coelomic fluid Ectoderm Mesoderm Endoderm
Class Polychaeta มีรยางค์ข้างปล้อง (parapodium) ช่วยในการเคลื่อนที่ มีขนแข็ง (setae) บน parapodium Dioecious ส่วนใหญ่อยู่ในทะเล
Class Polychaeta Parapodium Head Tentacle
Trochophore larva Apical tuft Stomach Ciliary band Mouth Anus
Aphroditidae (sea mouse)
Capitellidae
Nereidae (เพรียงทราย, ตัวสงกรานต์)
Sabellidae
Serpulidae (หนอนพู่ฉัตร)
Class Hirudinea ปลายหัวเรียวกว่าส่วนท้าย มี anterior และ posterior sucker ไม่มีทั้ง parapodium และ setae อาศัยในที่ชุ่มชื้น Carnivorous animal
Copyright © The McGraw-Hill Companies, Inc Copyright © The McGraw-Hill Companies, Inc. Permission required for reproduction or display.
Marine leech Gill
Hirudo medicinalis
Haemadipsa sp.
Class Oligochaeta ไม่มี parapodia และมีจำนวน setae ต่อปล้องน้อย มีปล้องพิเศษ เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ (clitellum) Monoecious
Earthworm ขนาดใหญ่ พบประมาณ 500 ชนิด อาศัยในดินชั้นที่มีสารอินทรีย์ และความชื้นพอเหมาะ เพิ่มปริมาณ O2 ให้แก่ดิน กินสารอินทรีย์ในดิน โดยกินดินแล้วดึงสารอินทรีย์ไปใช้ ขับถ่ายดินออกมา ทำให้ดินร่วนซุย
ลักษณะภายนอก ลำตัวทรงกระบอก ด้านท้องแบนและซีดกว่าด้านหลัง ปลายด้านหน้ามีติ่งเนื้อ (prostomium) ไม่ถือว่าเป็นปล้อง ปากอยู่กึ่งกลางของปล้องแรก (peristomium) ท้ายลำตัวคือ pygidium ไม่ถือว่าเป็นปล้อง มีช่องเปิดทวารหนัก ลำตัวมีปล้องหนาเป็นปลอกเนื้อเรียกว่า clitellum มีต่อมผลิตปลอกหุ้มไข่ ปล้องทุกปล้อง (ยกเว้นปล้องแรกและท้าย) มี setae
Pygidium Septa Prostomium Peristomium Mouth
Setae (Chaetae) Chitin
ช่องเปิดบนลำตัว Mouth เป็นช่องเปิดกลาง peristomium Anus อยู่ที่ pygidium Male pore มี 1 คู่ เป็นรอยขีดตามขวาง Female pore มี 1 ช่องอยู่กึ่งกลางด้านท้อง Seminal receptacle opening ช่องเปิดทางด้านข้างของท้อง Nephridiopore รูขับถ่ายเปิดด้านข้างของปล้อง Dorsal pore เปิดจาก coelom เพื่อให้ของเหลวออกมาอาบผิวให้ชุ่มชื้น อยู่ในร่องระหว่างปล้อง
Genital papillae
Body wall ห่อหุ้มด้วย cuticle แผ่นบางใส ลอกจากตัวได้ Epidermis เซลล์ผิวทรงสูงเรียงตัวชั้นเดียว มี mucous cell แทรกตัวทั่วไป สร้างเมือกให้ผิวชุ่มชื้นและช่วยในการเคลื่อนที่ Circular muscle กล้ามเนื้อวง Longitudinal muscle หนา มี fiber แทรก Peritoneum บุผนังตัวและอวัยวะต่างๆ
Epidermis Circular muscle Longitudinal muscle cuticle Peritoneum
ทางเดินอาหาร Mouth อยู่ระหว่าง peristomium มีท่อกล้ามเนื้อยาวถึงปล้องที่ 3 คือ buccal cavity Pharynx ต่อจากอุ้งปากยาวถึงปล้องที่ 4 Esophagus เป็นท่อยาวแคบ Crop กระเพาะพักอาหาร (Metaphire ไม่มี) Gizzard ผนังหนา รูปไข่ ช่วยบดอาหาร Stomach ท่อยาวแคบ มีเซลล์ต่อมสร้างเอนไซม์
4 3 5 2 1 7
2 1 4 5 6 7
7. Intestine ท่อผนังบางยาวตลอดลำตัว (Metaphire มี intestinal caeca ยื่นออกมาจากด้านข้างของลำไส้) - ลำไส้มีแขนงยื่นเข้าไปภายใน แขนงใหญ่สุดอยู่ทางด้านหลังเรียกว่า Typhlosole เพิ่มพื้นที่ผิวในการย่อยอาหาร - ผิวด้านนอกลำไส้มี chloragogen cell สีเหลือง ช่วยสังเคราะห์และเก็บสะสม glycogen และไขมัน รวมทั้งช่วยกำจัดของเสียจากเลือดและของเหลวจากซีลอมแล้วขับออกทาง dorsal pore หรือ nephridiopore 8. Anus ช่องเปิดทรงกลม อยู่ท้ายสุดของลำตัว
E
Chloragogen cells Typhlosole Ventral nerve cord
การแลกเปลี่ยนแก๊ส เกิดที่ผนังตัวที่บางใสและมีเส้นเลือดฝอยมาก เซลล์ต่อมที่ผิวและ coelomic fluid ทำให้ผิวตัวชุ่มชื้นเพื่อให้ O2 ละลายลงมาแล้วแพร่ผ่านกระแสเลือด และ CO2 แพร่ออกจากเลือด
ระบบหมุนเวียน Close circulatory system เลือดมีสีแดง มี hemoglobin ละลายอยู่ในน้ำเลือด เมื่อรวมตัวกับ O2 ได้ oxyhemoglobin เม็ดเลือดแดงไม่มีสี มีนิวเคลียส มีเส้นเลือด (vessel) ช่วยในการลำเลียงน้ำเลือด - dorsal vessel อยู่เหนือ typhlosole - ventral vessel อยู่ใต้ลำไส้ มีเยื่อยึดกับลำไส้ - lateral neural vessel อยู่ 2 ข้างเส้นประสาทท้อง - subneural vessel อยู่ใต้เส้นประสาทท้อง - aortic arches แขนงเชื่อมระหว่าง dorsal และ ventral vessel อยู่บริเวณ esophagus
Lateral neural vessel
Aortic arches Dorsal vessel
Dorsal vessel Ventral vessel Ventral nerve cord
Mesentery Ventral vessel Lateral neural vessel Subneural vessel
ระบบขับถ่าย อวัยวะขับถ่ายคือ nephridium มีส่วนประกอบคือ 1. nephrostome กรวยรับของเสียอยู่ใน coelom 2. nephridial tubule อยู่ใน coelom 3. nephridiopore ปลายเปิดท่อ เปิดออกที่ผนังตัว
Nephridia
nephrostome (nephridiopore)
Dorsal vessel Nephridial bladder Nephridiopore Nephrostome
ระบบประสาท Brain หรือปมประสาทสมองอยู่ด้านหลังตรงรอยต่อของอุ้งปากกับ pharynx ประมาณปล้องที่ 3 ต่อจาก brain มี circumpharyngeal connection และบรรจบกันทางด้านท้องเกิดเป็น ปมประสาทด้านท้อง subpharyngeal ganglion ต่อมามีเส้นประสาทยาวตามความยาวด้านท้อง (ventral nerve cord) แต่ละปล้องมีปมประสาทโป่งออกและมีเส้นประสาทแยกออกมา
Circumpharyngeal connection Brain Circumpharyngeal connection Subpharyngeal ganglion Ventral nerve cord
ระบบสืบพันธุ์ เพศรวมแต่ปฏิสนธิข้ามตัว male gamete เจริญก่อน female gamete Male reproductive organs ประกอบด้วย 1. Testis มี 2 คู่อยู่ที่ปล้อง 10-11 มีถุงหุ้มขนาดใหญ่ 2. Seminal vesicle มี 3 คู่ ใช้เก็บอสุจิเพื่อพัฒนาให้เจริญเติบโต แล้วจึงเคลื่อนตัวไปยัง testis sac และไปยัง vas deferens ต่อไป 3. Vas deferens เป็นท่อรับอสุจิไปเปิดออกที่ male pore 4. Prostate gl. อยู่ปลาย vas deferens ท่อจาก prostatic duct ไปเปิดออกที่ male pore (Lumbricus ไม่มีต่อมนี้) ทำหน้าที่สร้าง seminal fluid ทำให้สเปิร์มแข็งแรง
ระบบสืบพันธุ์ Female reproductive organs ประกอบด้วย 1. Ovaries มี 1 คู่ที่ผนังปล้องสองข้างเส้นประสาท บางชนิดมีรังไข่คล้ายนิ้วมือหลายแขนง 2. Oviduct อยู่ใต้ ovary นำไข่ไปเปิดออกที่ female pore ปล้องที่ 14 3. seminal receptacle ประกอบด้วยตัวถุง (ampulla) มีท่อสั้นไปเปิดออกภายนอกที่ร่องระหว่างปล้อง โคนของท่อมีแขนงยื่น (diverticula) สเปิร์มที่รับมาจะเก็บไว้ใน ampulla และ diverticula
Cocoon