ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
Advertisements

สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
คุณคิดว่าเค้าคนนี้คือใคร ? ก. ผู้ชาย ข. ผู้หญิง ค. ผู้หญิง + ผู้ชาย ง. ถูกทุกข้อ.
พระวาจา ทรง ชีวิต กุมภาพันธ์
พระวาจาทรงชีวิต กันยายน 2007.
ปลา กับ นกกระยาง.
คำถาม พระหรรษทาน-บาป.
พระวาจา ทรง ชีวิต ธันวาคม 2007.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
พระวาจา ทรง ชีวิต พฤศจิกายน 2007.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
History มหาจุฬาฯ.
ระบบความเชื่อ.
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
อาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. อารมณ์ที่เป็นไปในทาง ยินดี ๒. อารมณ์ที่เป็นไปในทางที่ ไม่ยินดี
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
บทที่ ๗ ศิลปะการควบคุมอารมณ์
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
พระวาจา ทรง ชีวิต มิถุนายน 2010 "ผู้ที่หวงชีวิตของตนไว้ก็จะสูญเสียชีวิตนั้น แต่ผู้ที่ยอมเสียชีวิต ของตนเพราะเห็นแก่เรา จะพบชีวิตนั้นอีก" (มธ. 10,39)
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
วันอาสาฬหบูชา.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การใช้อำนาจและอิทธิพล
คัดย่อจากจากผลงานธรรมนิพนธ์เรื่องต่างๆ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
แบบทดสอบศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนาในประเทศไทย.
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
การรู้สัจธรรมของชีวิต
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
ศาสนาคริสต์.
                                                                                       
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักข้อเชื่อที่สำคัญของศาสนายิว(ยูดาย)
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
แล้วคุณเป็นใคร ?.
ศาสนาคริสต์.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต - เกิดควบคู่กันมากับพระพุทธศาสนา - เป็นศาสนาประจำชนชาติอินเดียทางภาคเหนือ - บำเพ็ญตบะด้วยวิธีต่างๆ โดยเฉพาะการทรมานร่างกาย(อัตตกิลมถานุโยค) - ปัจจุบันมีศาสนิกชนน้อยลงเรื่อยๆ (มีประมาณ 1 ล้าน 5 แสนคน) - สอนเรื่องอาตมันคล้ายฮินดู แต่แตกต่างที่เป็น อเทวนิยม - มีศาสนามาแล้วถึง ๒๔ องค์ องค์แรก ชื่อ“ฤษภะ” องค์สุดท้ายชื่อ “มหาวีระ”(เจ้าชายวรรธมาน) - ศาสดาเรียกว่า “ตีรถังกร” (ผู้กระทำซึ่งท่า) - เชนหรือชินะแปลว่าผู้ชนะ (หมายถึงการชนะตัวเอง) - เป็นการชนะด้วยวินัยแห่งการควบคุมตัณหาของตนอย่างเข้มงวด

๑) อหิงสา = การไม่ฆ่า ไม่เบียดเบียน ไม่ทำร้ายสัตว์ จริยศาสตร์ (บัญญัติ ๕ ประการ) ๑) อหิงสา = การไม่ฆ่า ไม่เบียดเบียน ไม่ทำร้ายสัตว์ ๒) สัตยะ = ซื่อสัตย์ ๓) อัสตียะ =ไม่ลักขโมย หลบหนีภาษี ๔) พรหมจริยะ = เว้นจากกามสุข ๕) อปริคหะ = ไม่โลภ รวมเรียกว่า พรต = วัตร การปฏิบัติของนักบวชเรียกว่า “มหาพรต” การปฏิบัติของคฤหัสถ์เรียกว่า “อนุพรต” นักบวชที่ปฏิบัติเคร่งครัดเรียกว่า “สาธุ” ศาสนาเชนยึดอหิงสาธรรมและชีวิตสันโดษNon-violence “อหิงสา หมายถึงการไม่ทำร้าย” “มันเป็นการยากที่จะเอาชนะตัวเองได้ แต่เมื่อใดเอาชนะได้แล้วทุกอย่างก็ถูกเอาชนะได้ด้วย”

นิกายนุ่งลมห่มฟ้า และนิกายนุ่งผ้าสีขาว ๑. ทิคัมพร - เปลือยกาย - อนุรักษ์นิยม, เจริญอยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย - มีอาภรณ์เป็นอากาศ - พุทธศาสนา เรียกว่า อเจลกะ, นัคคะ, นิครนถ์ ๒. เศวตัมพร - นุ่งห่มผ้าขาว - เจริญอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย - อาภรณ์สีขาว - แก้บทบัญญัติแห่งการเปลือยกายไม่ให้ตึงเกินไป - พุทธศาสนา เรียกว่า ปัณฑรังคะ = ผู้นุ่งขาวห่มขาว

ข้อสังเกต ๑. การแบ่งแยกนิกาย นอกจากอิทธิพลของกาลเวลาแล้วสภาพแวดล้อมก็มีส่วนสำคัญ ๒. ผู้หญิงสำเร็จเป็นสิทธาได้ ก็เพราะบางนิกาย (เศวตัมพร) มีติดถังกรเป็นผู้หญิง ๓. นักบวชทุกท่านต้องถอนผมของตนด้วยทางตาลหรือมือแทนการโกนเพื่อพิสูจน์ความอดทน ๔. ศาสนาเชนยกย่องการปฏิบัติแบบ อัตตกิลมถานุโลก เช่นการนิยมอดอาหาร (ถือเป็นการตายที่บริสุทธิ์)

ความเหมือนกับพุทธศาสนา ๑. เดิมเป็นเทวนิยม เปลี่ยนเป็นอเทวนิยม สมัยศาสดามหาวีระ ๒. เน้นอหิงสาธรรม – เมตตา ๓. ปฏิเสธคัมภีร์พระเวทและความศักดิ์สิทธิ์ของระบบวรรณะ ๔. เชื่อเรื่อง “กรรม”(ความดีต้องมาจากดี) ๕. ยอมรับใน “สังสารวัฏ”และ “การหลุดพ้น” (นิรวาณ-นิพพาน)

ความแตกต่าง สัญลักษณ์ คำสอนยึดถือ “อัตตา”(วิญญาณของบุคคลเป็นนิรันดร) ส่วนพุทธศาสนาเป็น “อนัตตา” ๒) เน้นหลัก “อหิงสาธรรม” มากกว่า (ถือเป็นมงกุฎของศาสนาเชน) ๓) เชนปฏิบัติในหลักอัตตกิลมถานุโยค ส่วนพุทธถือหลักมัชฌิมาปฏิปทา สัญลักษณ์ ๑. รูปของ มหาวีระ ผู้เป็นศาสดาองค์สุดท้าย ทิคัมพร – รูปติดถังกรเปลือยกาย เศวตัมพร – รูปติดถังกรนุ่งห่มผ้า ๒. คัมภีร์เรียกชื่อว่า อาคม(หมายถึงศีล) ๓. เป็นนักมังสวิรัติ (อาชีพพวกพระ ครูอาจารย์ ศิลปิน พ่อค้า นักธุรกิจ นายธนาคาร) “ทุกสิ่งป็นนิรันดรโดยธรรมชาติของตนนั่นเอง”

วจนะและสุภาษิตของเชน จงรู้ว่าอะไรเป็นเหตุผูกมัดวิญญาณ และเมื่อรู้ ก็จงพยายามขจัดออกไป นกติดอยู่ในกรงย่อมออกจากกรงไม่ได้ฉันใด บุคคลผู้เขลาต่อความถูกและความผิดก็ย่อมออกจากความระทมทุกข์ไม่ได้ฉันนั้น มีทางทำบาปอยู่ 3 ทาง คือโดยการกระทำของเรา โดยการสนับสนุนคนอื่น โดยการเห็นด้วย มุนีย่อมนำชีวิตออกห่างจากความรักให้ไกลมากเท่ากับจากความเกลียด ชีวิตทุกชีวิตย่อมเกลียดความเจ็บปวด เพราะฉะนั้นอย่าทำร้ายเขาหรือฆ่าเขา นี่เป็นแก่นสารแห่งปัญญา ไม่ฆ่าสิ่งใด ความเหย่อหยิ่งเป็นหนามที่บางมากแต่เป็นเรื่องยากที่จะดึงออก คนควรปฏิบัติต่อสัตว์โลกทั้งหมดในโลก ดังเช่นตัวเองชอบที่จะให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อตน ฯลฯ

เชน ฑิคัมพร (นุ่งลมห่มฟ้า) เชน ฑิคัมพร (นุ่งลมห่มฟ้า)

เทวรูป เชน

สัญลักษณ์ เทวรูป เชน