ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อย ในนักศึกษาแพทย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ. ภาณุ คูวุฒยากร จิตแพทย์ รพ. สวนปรุง
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การลดความวิตกกังวล.
สุขภาพจิต.
วิธีการผ่อนคลายความเครียด
สาเหตุของการติดยาเสพติด
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การสัมภาษณ์ และการให้คำปรึกษา
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
คุณเป็นคนที่มีอุดมการณ์หรือไม่ ???
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
การสร้างวินัยเชิงบวก
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
Cognitive of Depressive Disorder
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
Chanesd srisukho.  ผู้หญิงเอาแต่ใจ ชอบแสดงออกเกินความเป็นจริง ชอบ แต่งกายให้คนรอบข้างสนใจ แต่ใจอ่อน เชื่อคนง่าย ดังนั้นผู้ป่วยเป็น Personality trait.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อย ในนักศึกษาแพทย์ ผศ นพ พนม เกตุมาน ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล บรรยายในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ การเพิ่มศักยภาพในการให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา” วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เป้าหมายการบรรยาย ปัญหาทางสุขภาพจิตในนักศึกษาแพทย์ ปัญหาทางจิตเวช นศพ ศิริราช โรคทางจิตเวชที่พบบ่อย/ การช่วยเหลือ บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา

Psychiatric Disorders in Siriraj Medical Students 1973-1999 Dr. Panom Ketumarn MD. Department of Psychiatry Faculty of Medicine Siriraj Hospital

Methodology Retrospective descriptive study Siriraj counseling unit for medical students Medical chart review 1973-1999 Psychiatric diagnosis DSM IV / ICD 10 Statistics Descriptive : Frequency,Percentage,Incident Rate Inferential : Chi Square Test

Male (%) Female Total No psychiatric dis. 22 (8.9) 5 (2) 27 (10.9) Psychiatric dis. 168 (67.7) 53 (21.4) 221 (89.1) 190 (76.6) 58 (23.4) 248 (100)

นศพ.ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : เพศ ชาย : หญิง = 3.2 : 1 นศพ.ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : เพศ

อายุเฉลี่ย 20.83 ปี ฐานนิยม 20.5 ปี อายุเฉลี่ย 20.83 ปี ฐานนิยม 20.5 ปี นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : อายุเริ่ม

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : ชั้นปีเริ่ม

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : ภูมิลำเนา

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : ฐานะ

นศพ.ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย: การมา

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย: จำนวนบริการ

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : ปัญหา ปัญหาจิตเวช (แกน I) ปัญหาบุคลิกภาพ (แกน II) 74 100 46 33.6 % 45.5 % 20.9 % นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : ปัญหา

Multiaxial Diagnosis Axis I Psychiatric Disorder Axis II Personality Disorder Axis III Physical disorder Axis IV Psychosocial Problem Axis V Global Functioning

Axis I Diagnosis 2.Mood dis. 28 % (51) 3.Anxiety dis. 7.7 % (14) 1. Adjustment dis. 43.4 % (78) 2.Mood dis. 28 % (51) 3.Anxiety dis. 7.7 % (14) 4.Schizophrenia 6.6 % (12) 5.Psychosomatics 4.4 % (8) 6.Substance use dis. 2.8 % (5) 7.Identity problem 2.8 % (5)

Axis I Diagnosis 9. Ch. motor tics 1.1 % (2) 10.Kleptomania 0.6 % (1) 8. Organic mental dis. 2.2 % (4) 9. Ch. motor tics 1.1 % (2) 10.Kleptomania 0.6 % (1) 11.Exhibitionism 0.6 % (1) 12.Diagnosis defered 0.6 % (1)

Axis II Diagnosis Personality NOS 44.6 % (87) Avoidant 18.9 % (37) Obsessive Compulsive 14.4 % (28) Antisocial 6.2 % (12) Paranoid 4.6 % (9) Dependent 4.6 % (9)

Axis II Diagnosis Schizotypal 2.1 % (4) Schizoid 1.5 % (3) Histrionic 1.5 % (3) Borderline 1 % (2) Narcissistic 0.5 % (1)

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : รหัสปี จำนวน (คน) รหัสปีการศึกษา 25 .. 16 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : รหัสปี

นศพ ที่มีปัญหาจิตเวช 221 ราย : ผลเรียน

Psychiatric Disorders in Retired Medical Students

นศพ ที่พ้นสภาพ 32 ราย : เพศ

นศพ ที่พ้นสภาพ 32 ราย : อายุที่เริ่มมีปัญหา

นศพ ที่พ้นสภาพ 32 ราย : ชั้นปีที่เริ่มมีปัญหา

นศพ. ที่พ้นสภาพ 32 ราย : ชั้นปีที่พ้นสภาพ

นศพ ที่พ้นสภาพ 32 ราย : จำนวนปีที่เรียน

นศพ ที่พ้นสภาพ 32 ราย : ปัญหา ปัญหาจิตเวช ( แกน I ) ปัญหาบุคลิกภาพ ( แกน II ) 25.8 % 45.2 % 29 % นศพ ที่พ้นสภาพ 32 ราย : ปัญหา

Psychiatric Disorders in Retired Students Major depression 15 % (6) Personality NOS 15 % (6) Schizophrenia 12.5 % (5) Identity problem 10 % (4) Gen. anxiety dis. 7.5 % (3) Obsessive Compulsive Disorder 7.5 % (3) Avoidant per. dis. 7.5 % (3)

Psychiatric Disorders in Retired Students Schizotypal per. dis. 7.5 % (3) Bipolar dis. 2.5 % (1) Schizoaffective dis. 2.5 % (1) Dysthymia 2.5 % (1) Antisocial per. dis. 2.5 % (1) Borderline per. dis. 2.5 % (1) Cognitive dis. NOS 2.5 % (1) Diagnosis deferred 2.5 % (1)

Conclusion Incident rate = 2.9 % Male > Female (3/1) Onset 2nd year Age 20.5 Y Axis I Adjustment dis Mood dis. Axis II Personality NOS Avoidant

ปัญหานักศึกษาแพทย์ สุขภาพจิตและโรคจิตเวช ความประพฤติ การเรียน ความสัมพันธ์กับเพื่อน / ความรัก เงิน

สุขภาพจิตและโรคจิตเวช

โรคความผิดปกติในการปรับตัว (Adjustment Disorders) ลักษณะสำคัญ มีอาการเกิดขึ้นหลังจากเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง หรือความเครียดในชีวิตประจำวัน (psychosocial stressors) เช่น การย้ายสถานที่เรียน การมีเพื่อนกลุ่มใหม่ การอยู่หอพัก ฯลฯ อาการเกิดภายใน 3 – 6 เดือน แล้วมักหายไปได้เอง โดยนักศึกษาจะปรับตัวได้

โรคความผิดปกติในการปรับตัว (Adjustment Disorders) อาการ - อารมณ์เครียดวิตกกังวล นอนไม่หลับ ปวดหัวปวดท้อง - อารมณ์ซึมเศร้า เบื่อหน่าย เซ็ง ไม่มีความสุข สมาธิความจำเสีย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ เบื่อเรียน หลบเลี่ยงไม่เรียน - พฤติกรรม ก้าวร้าว เกเร ต่อต้าน เที่ยวเตร่ ดื่มเหล้า ใช้สารเสพติด อาการมักจะเกิดในช่วงปี 1 สังเกตได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพฤติกรรมอื่นๆ

โรคซึมเศร้า (Major Depression) อาการ อารมณ์ซึมเศร้า ไม่แจ่มใสร่าเริงเหมือนเดิม ไม่มีความสุข เบื่ออาหารน้ำหนักลด นอนไม่หลับ สมาธิความจำเสียไป ความคิดและการเคลื่อนไหวช้าลง รู้สึกตัวเองไร้ค่า-ผิด เบื่อชีวิต และคิดอยากตาย คนที่เป็นโรคนี้จะรู้สึกว่าตนเองเปลี่ยนแปลงไปมากอย่างรวดเร็ว โดยอาจไม่มีสาเหตุทางจิตใจ สังคมมาก่อนเลย

โรคซึมเศร้า (Major Depression) อาการที่น่าเป็นห่วงมาก คือ ความคิดอยากตาย หรือพยายามฆ่าตัวตาย การรักษา ใช้ยาต้านโรคซึมเศร้า ร่วมกับจิตบำบัด และการปรับสิ่งแวดล้อม ผลการรักษาดีมาก มักจะหายได้เป็นปกติ

โรคเครียด (Psychosomatic Disorders) อาการ อาการทางร่างกายซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบภูมิคุ้มกันโรค หรือระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งแปรปรวนไปตามความเครียด

โรคเครียด (Psychosomatic Disorders) อาการทางร่างกายระบบ ได้แก่ ระบบทางเดินอาหาร แผลในกระเพาะอาหาร ท้องเสีย ท้องผูก อาเจียน ระบบกล้ามเนี้อ กล้ามเนื้อเกร็งแข็งตัว และเจ็บปวดตามบริเวณศีรษะ คอ หลัง หรืออาจเกิดอาการกล้ามเนี้อกระตุก มือสั่น ระบบไหลเวียนของเลือด ใจสั่น หลอดเลือดหัวใจตีบ ความดันโลหิตสูง ระบบทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย ระบบภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ร่างกายขาดภูมิต้านทานโรค จนเกิดเป็นโรคต่างๆ ง่าย ได้แก่ โรคไข้หวัด

โรคเครียด (Psychosomatic Disorders) การรักษา อาการของระบบต่างๆ นี้มักจะเกิดขึ้นเวลามีความเครียด และจะหายไปเมื่อหมดความเครียด การรักษาอาการเครียดด้วยยา การฝึกคลายเครียด การแก้ปัญหาในชีวิต

โรคบุคลิกภาพผิดปกติ (Personality Disorders) ลักษณะสำคัญ เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง พฤติกรรมที่ทำให้เกิดปัญหากับผู้อื่น ปรับตัวเองต่ำ ไม่ยืดหยุ่น ไม่ยอมรับข้อบกพร่องของตนเอง เกิดปัญหาในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น

บุคลิกภาพแบบไม่โต (Immature personality) ขาดความเป็นผู้ใหญ่ ขาดความรับผิดชอบ ขาดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ขาดความรอบคอบ ขาดการวางแผน อารมณ์ไม่มั่นคง ไม่รับผิดชอบ ขาดการยับยั้งชั่งใจตนเอง นักศึกษาที่เป็นแบบนี้จะไม่สนใจการเรียน เที่ยวเตร่ เล่นการพนัน ดื่มเหล้า คบเพื่อนไม่ดี ไม่รับผิดชอบหน้าที่ตนเอง และมักจะเรียนตกๆ หล่นๆ หรือเรียนไม่จบ

บุคลิกภาพแบบหลบเลี่ยง (Avoidant personality) ขาดความกล้าความมั่นใจตนเอง ไม่กล้าเผชิญปัญหา เมื่อพบอุปสรรคจะหลบเลี่ยง ไม่สู้ปัญหา ไม่มั่นใจในการสร้างความสัมพันธ์กับคนอื่น มีความเครียดและวิตกกังวลสูง ไม่เผชิญปัญหาในการเรียน ไม่ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยมีเพื่อน อาจารย์ที่ปรึกษาเรียกพบก็มักจะหลบเลี่ยงไม่ยอมมาพบ มักจะเรียนไม่ดี หรือเรียนไม่จบ เปลี่ยนที่เรียนไปเรื่อยๆ

บุคลิกภาพแบบอันธพาล (Antisocial personality) ละเมิดผู้อื่นๆ เพื่อสนองความต้องการตนเอง มักจะทำผิดกฎเกณฑ์ กติกาของสังคม หลอกลวง โกหก ขโมย บางคนอาจมีก้าวร้าวเกเร ทำร้ายผู้อื่น เกเร ทำผิดกฎระเบียบของคณะ ดื่มเหล้า เล่นการพนัน ไม่ตั้งใจเรียน ทุจริตในการสอบ คบเพื่อนเกเร เที่ยวกลางคืน เรียนไม่ดี และมักจะไม่จบ

บุคลิกภาพแบบคาบเส้น (Borderline personality) อารมณ์และความคิดแปรปรวนไม่แน่นอน ขึ้นกับสถานการณ์ ขาดการแยกแยะความจริง มีอารมณ์เหงา อ่อนไหวรุนแรง ต้องการเป็นที่ยอมรับของคนอื่นอย่างมาก ไม่อยู่กับร่องกับรอย พูดให้คนทะเลาะกัน มองคนอื่นไม่ดีก็เลวไปเลย ถ้าใครทำให้พอใจก็จะเทิดทูนอย่างมาก แต่ถ้าไม่พอใจก็จะตำหนิอย่างรุนแรง มักจะเป็นที่รังเกียจของเพื่อนๆ เพราะชอบโกหก สร้างความสัมพันธ์กับใครไม่ได้นาน มักจะใช้ยาหรือสารเสพติด และพยายามฆ่าตัวตาย

บุคลิกภาพแบบแยกตัวเอง (Schizoid personality) ชอบอยู่คนเดียว ไม่ชอบมีเพื่อน กังวลที่จะคบกับคนอื่น ไม่มั่นใจในมนุษยสัมพันธ์ ชอบเก็บตัวไม่เข้าสังคม ไม่สร้างความสัมพันธ์กับใคร นักศึกษาที่เป็นแบบนี้อาจเรียนได้ แต่ขาดทักษะสังคม ทำให้ทำงานร่วมกับคนอื่นลำบาก

บุคลิกภาพแบบย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive-compulsive personality) เจ้าระเบียบ (Perfectionist) เคร่งเครียดอยู่กับกฎเกณฑ์กติกามากจนเกินไป พยายามทำให้ได้ดีเลิศ ไม่ผิด ตรงตามระเบียบ ไม่มีความยืดหยุ่น มีความเครียดสูง เพื่อนฝูงไม่ค่อยชอบเพราะเจ้าระเบียบเกินไป

บุคลิกภาพแบบหวาดระแวง (Paranoid personality) ไม่ไว้วางใจใคร มองคนอื่น หรือมองโลกในแง่ร้าย จ้องจับผิดคนอื่น เครียดและไม่ค่อยมีเพื่อนสนิท

บุคลิกภาพแบบพึ่งพิงคนอื่น (Dependent personality) ไม่มั่นใจตนเอง ต้องคอยพึ่งพาอาศัยคนอื่น ไม่กล้าคิดไม่กล้าตัดสินใจ หรือกระทำอะไรได้ด้วยตนเอง กลัวผิดพลาด ต้องอาศัยคนอื่น แม้แต่ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

บุคลิกภาพแบบยกตนเอง (Narcissistic personality) ชื่นชมตนเอง ต้องการให้คนอื่นยกย่อง พยายามทุกวิถีทางเพื่อให้ตนเองเด่นดังเหนือกว่าคนอื่นทุกด้าน

บุคลิกภาพแบบฮีสทีเรีย (Histrionic personality) เรียกร้องความสนใจคนอื่น ต้องการเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยอมรับ ชื่นชอบของคนอื่น แสดงออกมากจนเกินไป อาจดูคล้ายยั่วยวนทางเพศ

โรคประสาท (Anxiety Disorders) อาการ ความเครียดและวิตกกังวล ประเภท โรคประสาทวิตกกังวล หรือโรคกังวล (Generalized Anxiety Disorder) โรคประสาทซึมเศร้า (Dysthymia) โรคประสาทย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive-compulsive Disorder) โรคกลัว (Phobic Disorders)

โรคประสาท (Anxiety Disorders) โรคประสาททุกโรค มักจะเป็นเรื้อรัง รักษาได้ยาก การรักษาใช้ยารักษาตามอาการร่วมกับจิตบำบัด

โรคจิตเภท (Schizophrenia) มีอาการโรคจิต หลงผิด หูแว่ว ไม่อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง อารมณ์ และพฤติกรรมผิดปกติ มีการกระทำแปลกๆ ไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ อาการหลงผิด อาจมีหวาดระแวง ความเชื่อแปลกๆ ความรู้สึกว่าตนเองผิดปกติ

โรคจิตเภท (Schizophrenia) การรักษา ใช้ยาต้านโรคจิตเป็นหลัก ผลการรักษาอาจดี สามารถกลับไปเรียนได้เหมือนเดิม แต่ส่วนหนึ่งจะเป็นเรื้อรัง

ภาวะรักร่วมเพศ (Homosexualism) ลักษณะสำคัญ คือ มีความพึงพอใจทางเพศกับเพศเดียวกันเอง เพศชาย เกย์ (เกย์คิง และเกย์ควีน หรือตุ๊ดแต๋ว) เพศหญิง เลสเบี้ยน (ทอม ดี้) ได้ทั้งสองเพศ เรียกว่า Bisexualism ภาวะรักร่วมเพศมิใช่โรค และรักษาไม่หาย ผู้ที่เป็นจะเผชิญกับปัญหาในการดำเนินชีวิตมากกว่าธรรมดา

โรคพฤติกรรมผิดปกติ (Conduct Disorder) อาการ ก้าวร้าว เกเร ละเมิดกฎเกณฑ์ ละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น หนีเรียน หนีออกจากบ้าน รังแกสัตว์ ชกต่อยกับคนอื่น ขโมย โกหก เป็นพฤติกรรมของเด็กเกเร ซึ่งถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะกลายเป็นบุคลิกภาพแบบอันธพาล (Antisocial personality disorder)

โรคติดสารเสพติด (Substance Use Disorder) อาการ ใช้สารเสพติดซ้ำๆ จนเป็นอันตรายต่อตนเอง ไม่สามารถเลิกได้ ต้องใช้ขนาดมากขึ้น และเมื่อขาดสารนี้จะเกิดอาการอยากยา หรืออาการลงแดง สารเสพติดที่นักศึกษาใช้มาก ได้แก่ เหล้า บุหรี่ ยาบ้า กัญชา เมื่อใช้นานๆ ร่างกายและจิตใจจะเสื่อมลง ทำให้เรียนหนังสือไม่ได้ การรักษาทำได้ค่อนข้างยาก แม้รักษาหายแล้วโอกาสกลับใช้ใหม่อีกยังมีสูง

โรคจิตเวชที่มีสาเหตุทางกาย (Organic Mental Disorders) อาการ สมองมีการทำงานสับสน ทำให้คิด หรือตัดสินใจไม่ดี ความจำไม่ดี สติสัมปชัญญะขึ้นๆ ลงๆ มีอาการทางจิตประสาทได้ทุกรูปแบบ ตัวอย่าง โรคจิตที่เกิดจากการใช้ยาบ้า

Suggestions Primary prevention Secondary and tertiary prevention :Promotion / Early detection / Screening Secondary and tertiary prevention Data collecting system Consistency of services

บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา การเสริมสร้างทักษะชีวิต การค้นหานักศึกษาที่เริ่มมีปัญหาและช่วยเหลือ การแก้ไขฟื้นฟู และการส่งต่อ

การเสริมสร้างทักษะชีวิต การรู้จักตนเอง การพัฒนาตนเอง ทักษะสังคม การเป็นผู้นำ จริยธรรม ทักษะทางเพศ

การเสริมสร้างทักษะชีวิต สอนร่วมกับการสอนวิชาการอื่น จัดกิจกรรมแยกเฉพาะ กิจกรรมนอกหลักสูตร ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา พี่รหัส

การค้นหานักศึกษาและช่วยเหลือ การสอดส่องดูแล การค้นหากลุ่มเสี่ยง การคัดกรองและติดตาม ระบบการช่วยเหลือเชิงรุก การให้คำปรึกษาเชิงรุก

ความรู้และทักษะ พัฒนาการของวัยรุ่นตอนปลาย การเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจริยธรรม ปัญหาที่พบบ่อยในนักศึกษา ปัญหาทางสุขภาพจิต และจิตเวชในนักศึกษา การให้คำปรึกษา (Counseling) การส่งเสริมพัฒนาการ และการป้องกันปัญหาพฤติกรรม

ทักษะเบื้องต้นในการให้คำปรึกษา การสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี การสื่อสาร การสำรวจปัญหา การจูงใจให้ตกลงรับการปรึกษา การฟัง การให้กำลังใจ การปฏิบัติเพื่อให้เปลี่ยนพฤติกรรม การยุติการปรึกษา

การส่งต่อ การประเมินปัญหาสุขภาพจิต การจูงใจให้นักศึกษาร่วมมือ การติดตามดูแลร่วมกับทีมสุขภาพจิต

สรุปบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา 1. ทำความรู้จักนักศึกษา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างพื้นฐานความสัมพันธ์ที่ดี 2. ส่งเสริมพัฒนาการทางบุคลิกภาพในนักศึกษา โดยเฉพาะทักษะสังคม 3. สนับสนุนให้นักศึกษาเรียนโดยสะดวก เช่น การขอทุน แนะนำแนวทางการเรียน การลงทะเบียน สถานที่ บุคลากร หอพัก หอกีฬา

สรุปบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา 4. ติดตามพฤติกรรมนักศึกษา ทั้งการเรียน และพฤติกรรมอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง 5. เมื่อนักศึกษามีปัญหาเกิดขึ้น รีบประเมินปัญหา หาข้อมูลเพิ่มเติม ทำความเข้าใจกับปัญหานักศึกษา เพื่อให้ความช่วยเหลือโดยเร็ว 6. วางแผนช่วยเหลือ โดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การให้คำปรึกษา (counseling) การให้เพื่อนช่วยเพื่อน

สรุปบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา 7. ปรึกษาอาจารย์อื่น 8. ปรึกษาพ่อแม่ผู้ปกครอง 9. ปรึกษาจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยา

THE END