การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Knowledge Management (KM)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
Technology Application
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน (Perspectives of HCRD)
Learning Organization PSU.
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
Learning Organization
Learning Organization
LEARNING ORGANIZATION
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
Learning L Organization O
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
ข อง โดย … นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 15 มีนาคม 2549.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
Putting Knowledge in the Flow of Work
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
Knowledge Management & Information Technology & Communication - ICT
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
( ร่าง ) แนวคิดในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการ จัดการความรู้ (19 ส. ค. 57) กลยุทธ์ในการดำเนินงาน (TIPA) 2.Innovate KM Tools : สร้างนวัตกรรมเพื่ออำนวยความสะดวก.
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประศักดิ์ หอมสนิท สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการสัมมนาทางวิชาการ ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วันเสาร์ที่ 16 กันยายน 2549

แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ เรื่องการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ เรื่องการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

แนวคิดของ องค์กรแห่งการเรียนรู้ *

คำที่ใช้เรียก Learning Organization องค์กรเรียนรู้ องค์กรที่เรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์การเอื้อการเรียนรู้ *

องค์กรเอื้อการเรียนรู้ เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นให้ทุกคนพัฒนาตนเอง พัฒนาเป็นกลุ่ม และทั่วทั้งองค์กรด้วยการเรียนรู้ที่หลากหลายตลอดเวลาของการทำงานโดยใช้ความรู้ที่มีเพิ่มพูนสมรรถภาพ และศักยภาพร่วมกันอย่างต่อเนื่อง *

องค์กรแห่งปัญญา เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นให้บุคลากร มีความสามารถในการเรียนรู้ และคิดได้อย่างรวดเร็ว *

องค์กรแห่งนวัตกรรม เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นให้บุคลากร คิดสิ่งใหม่ๆทั้งที่เป็นวิธีการทำงาน หรือผลงาน อย่างต่อเนื่อง *

Learning Organization ความเป็นเลิศ ของคน และองค์กร Innovative Organization Intelligent Organization *

Peter M. Senge Michael Marquardt David A. Gavin 1. คิดเป็น อย่างมีระบบ ครบวงจร 1. การปรับเปลี่ยนองค์กร 1. การแก้ปัญหาอย่าง มีระบบ 2. ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ ด้วยศักยภาพ 2. การจัดการกับ องค์ความรู้ 2. การทดลองใช้ วิธีการใหม่ๆ 3. รับรู้ภาพลักษณ์โลก รอบตัวอย่างถูกต้อง 3. การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี 3. การเรียนรู้จาก ประสบการณ์ของ ตนและเรื่องในอดีต 4. สร้างวิสัยทัศน์ ร่วมกัน 4. การเพิ่มอำนาจ 4. การเรียนรู้จาก ประสบการณ์และวิธี การที่ดีที่สุดของผู้อื่น 5. เรียนรู้ร่วมกันเป็น ทีม 5. พลวัตการเรียนรู้ 5. การถ่ายทอดความรู้ อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ *

วินัยทั้ง 5 ของ Peter M. Senge Systems Thinking: คิดเป็น อย่างมีระบบ ครบวงจร 2. Personal Mastery: ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ด้วยศักยภาพ 3. Mental Models: รับรู้ภาพลักษณ์โลกรอบตัวอย่างถูกต้อง 4. Building Shared Visions: สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน 5. Team Learning: เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม *

วินัยที่ 1 : คิดเป็น อย่างมีระบบ ครบวงจร ความสามารถในการคิดให้ครอบคลุม รอบด้าน เข้าใจการเปลี่ยนแปลง เห็นความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงของระบบย่อยต่างๆ ที่เกี่ยว ข้องกับการทำงาน มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่ผ่านมา จากบุคคลอื่น แล้วบูรณาการเป็นความ รู้ใหม่ วิธีการใหม่ *

วินัยที่ 2 : ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ด้วยศักยภาพ ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพ ของตนเอง สร้างผลงาน มีหลักการทำงาน มีพลัง กำลังใจ มีความ มานะพยายาม และ มีความสุข ในการทำงาน *

วินัยที่ 3 : รับรู้ภาพลักษณ์โลกรอบตัว อย่างถูกต้อง วินัยที่ 3 : รับรู้ภาพลักษณ์โลกรอบตัว อย่างถูกต้อง ความสามารถในการพัฒนาวิธีและรูปแบบความคิด ความเชื่อให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและการเปลี่ยนแปลง โดย ไม่ยึดติด กับความคิดความเชื่อเก่าๆที่อาจล้าสมัย *

วินัยที่ 4 : สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ความสามารถในการที่ทุกคนร่วมกันสร้างภาพอนาคตของหน่วยงาน และของตนเอง ด้วยการแลกเปลี่ยนรับฟังซึ่งกันและกัน กล้าเปิดเผย กล้าเผชิญความขัดแย้งเพื่อประสานพลังการเรียนรู้ คิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่นโดยไม่ย่อท้อ *

วินัยที่ 5 : เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ความสามารถในการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยการพูดคุย สนทนา คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน รับรู้ความสามารถของเพื่อนร่วมงาน ด้วยความเต็มใจ และมีการแลกเปลี่ยนเผยแพร่ความรู้ *

Learning Organization ของ Michael Marquardt Organization Transformation: การปรับเปลี่ยนองค์กร Knowledge Management: การจัดการกับองค์ความรู้ Technology Application: การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี People Empowerment: การเพิ่มอำนาจ Learning Dynamics: พลวัตการเรียนรู้ *

การปรับเปลี่ยนองค์กร วิสัยทัศน์ โครงสร้าง วัฒนธรรม กลยุทธ์ *

แสวงหา ถ่ายโยง สร้าง เก็บ/เรียกใช้ การจัดการกับ องค์ความรู้ แสวงหา ถ่ายโยง สร้าง เก็บ/เรียกใช้ *

ระบบ สารสนเทศ ระบบ สนับสนุน ระบบ การเรียนรู้ ระบบ การสื่อสาร การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ระบบ สารสนเทศ ระบบ สนับสนุน ระบบ การเรียนรู้ ระบบ การสื่อสาร *

ผู้ปฏิบัติงาน คู่แข่งขัน หุ้นส่วน ผู้นำ ลูกค้า การเพิ่มอำนาจบุคคล ผู้ปฏิบัติงาน คู่แข่งขัน หุ้นส่วน ผู้นำ ลูกค้า *

รายบุคคล ระดับสากล กลุ่ม หลากหลาย พลวัตการเรียนรู้ รายบุคคล ระดับสากล กลุ่ม หลากหลาย *

Learning Organization ของ David A.Gavin การแก้ปัญหาอย่างมีระบบ การทดลองใช้วิธีการใหม่ๆ การเรียนรู้ประสบการณ์ของตนและเรื่องในอดีต การเรียนรู้ประสบการณ์และวิธีการที่ดีที่สุด ของผู้อื่น การถ่ายทอดความรู้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ *

LO KM *

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ LO KM *