มาตรฐาน ISO และสรุปผลการประชุม ISO/TC 34/SC 17 ครั้งที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Information systems; Organizations; Management; Strategy
Advertisements

วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กรอบเจรจา Rubber-Based Product Working Group (RBPWG)
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
หลักปฏิบัติที่ดีด้านการกำหนด การรับมาใช้ และการใช้มาตรฐาน
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
Analyzing The Business Case
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
การสื่อสารความเสี่ยง
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ
งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
การประเมินความเสี่ยง การคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กฎระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุภัณฑ์
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
ITกับโครงการ Food safety
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ระเบียบกรมธุรกิจพลังงาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการทดสอบและตรวจสอบถังเก็บและจ่ายก๊าซ หรือถังขนส่งก๊าซที่ผลิตขึ้นใหม่ โดยการนำเข้าจากต่างประเทศ พ.ศ
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
Thai Quality Software (TQS)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐาน ISO 22000 และสรุปผลการประชุม ISO/TC 34/SC 17 ครั้งที่ 1

หัวข้อการนำเสนอ แนะนำกรรมการวิชาการคณะที่ 34 ความเป็นมาของมาตรฐาน ISO 22000 ขอบข่ายและหลักการของ ISO 22000 แนวโน้มการรับรองระบบ ISO 22000 การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ ISO 22000 ของ สมอ. การประชุม ISO/TC 34/SC 17 ครั้งที่ 1

แนะนำกรรมการวิชาการคณะที่ 34 ผลิตภัณฑ์อาหาร (ISO/TC 34 Food products) SC 2,3…15 TC 34/ SC4 SC10 SC16 WG 10 ISO/WD 22008 มาตรฐาน ISO TC 34 WG 12 TC 34/ SC 17 WG 8, JWG11 TC 34/ SC9 ISO/DIS 22006 ISO 22000 ISO/TS 22003 ISO/TS 22004 WG 9 ISO 22005 O-member P-member

SC 2 Oleaginous seeds and fruits and oilseed meals TC 34/SCs (O-member) SC 2 Oleaginous seeds and fruits and oilseed meals SC 3 Fruit and vegetable products SC 5 Milk and milk products SC 6 Meat, poultry, fish, eggs and their products SC 7 Spices, culinary herbs and condiments SC 8 Tea SC 11 Animal and vegetable fats and oils SC 12 Sensory analysis SC 14 Fresh, dry and dried fruits and vegetables SC 15 Coffee

ISO 22000 : ความเป็นมา ISO 22000:2005 Food Safety Management System - Requirement for any organization in the food chain เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศที่จัดทำโดย TC 34/WG 8 Food Safety Management System โดยผู้เชี่ยวชาญ 23 ประเทศ และองค์กรที่เป็น Liaisons - Codex, CIAA, International Hotel and Restaurant Association, CIES/Global Food Safety Initiative, World Food Safety Organization(WFSO) อนุกรมมาตรฐาน ISO 22000 ประกอบด้วยมาตรฐานที่เกี่ยวข้องจำนวน 3 เรื่องได้แก่ ISO/TS 22002-1 Prerequisite programmes on food safety Part1: Food manufacturing ISO/TS 22003 Requirements for bodies providing audit and certification of food safety management systems ISO/TS 22004 Guidance on the application of ISO 22000:2005 มาตรฐานสนับสนุน ISO 22005 General principles and basic requirements for system design and implementation

ขอบข่ายของมาตรฐาน ISO 22000 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในห่วงโซ่อาหารทั้งหมด ตั้งแต่ - ผู้เพาะปลูก (crop producers)และ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ (feed producers) - ผู้ผลิตขั้นต้น (primary food producers) - โรงงานอุตสาหกรรม (food manufacturers, secondary food manufacturers) - ผู้ค้าส่ง - ผู้ประกอบการขนส่งและเก็บรักษา - ผู้รับจ้างช่วง - ผู้ค้าปลีก - ผู้ให้บริการอาหาร และผู้บริโภค - องค์กรที่มีความเชื่อมโยง เช่น ผู้ผลิตอุปกรณ์ เครื่องมือ/บรรจุภัณฑ์/ สารทำความสะอาด/วัตถุเจือปนอาหารและส่วนประกอบ

4 Key elements : การสื่อสารระหว่างกัน (interactive communication) ในห่วงโซ่อาหารเกี่ยวกับ อันตรายที่เกี่ยวข้องและมาตรการควบคุม ระบบบริหารจัดการ โดยนำระบบของ ISO 9001 มาประยุกต์ใช้ ร่วมกับระบบ HACCP การควบคุมอันตรายด้วย prerequisite programme การควบคุมอันตรายด้วย HACCP principle

สรุปภาพรวมระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร ISO 22000 Monitoring; Corrective actions Verification Implementation Improvement Establishing HACCP plan Establishing operational PRPs Planning and realization of safe products Preliminary steps to enable hazard analysis Hazard analysis Validation of control measures From : ISO/TS 22004

แนวโน้มการรับรองระบบ ISO 22000 ของโลก ผลการสำรวจของประเทศแคนาดาเมื่อเดือน พฤษภาคม/มิถุนายน 2551 พบว่า 72 ประเทศทั่วโลกที่มีการรับรองระบบ ISO 22000 ประเทศตุรกีเป็นประเทศที่มีผู้ได้รับการรับรองระบบ ISO 22000 มากที่สุด (200 องค์กร) รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น อินเดีย เดนมาร์ก และจีน (ไม่รวมฮ่องกง) ทวีปยุโรปมีจำนวนผู้ที่ผ่านการรับรองระบบ ISO 22000 มากที่สุด เนื่องจาก มีกฎหมายบังคับให้ผู้ประกอบการที่อยู่ใน food supply chain การต้องทำระบบ การจัดการความปลอดภัยของอาหาร ประเทศไทยมีองค์กรที่ได้รับการรับรองระบบ ISO 22000 ประมาณ 20 องค์กร แหล่งข้อมูล : Chambers, Albert (2008), Survey “incomplete” but reveals ISO 22000 implementation in 72 countries, ISO Management Systems, pp.8-11.

จำนวนการรับรอง ISO 22000 ที่สำรวจในปี 2551 แหล่งข้อมูล : Chambers, Albert (2008), Survey “incomplete” but reveals ISO 22000 implementation in 72 countries, ISO Management Systems, pp.8-11.

การดำเนินงานของ สมอ. การกำหนด รับมาตรฐานระหว่างประเทศ ISO 22000:2005 มาเป็น มอก. 22000-2548 การส่งเสริมผู้ประกอบการ สบ. 3 จัดทำคู่มือการจัดทำระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารจำนวน 3 เล่ม ประกอบด้วย ข้อกำหนดและการตีความ การจัดทำระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารสำหรับผู้ผลิตอาหารกระป๋อง การจัดทำระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารสำหรับผู้ผลิตอาหารแช่เยือกแข็ง สสพ. จัดอบรมหลักสูตรมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยด้านอาหาร ISO 22000 : 2005 และอยู่ในระหว่างการจัดทำหลักสูตร e-learning สำหรับ ISO 22000 การพัฒนาบุคลากร จัดฝึกอบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมินระบบ ISO 22000 ในปี 2550 และ 2551 มีเจ้าหน้าที่ สมอ. และหน่วยงานอื่นเข้ารับการฝึกอบรม 48 คน

Conformity assessment การประชุม ISO/TC 34/SC 17 ครั้งที่ 1 การจัดกลุ่มมาตรฐานและการทำงานของ SC 17 ISO 22000 Scope Definition Conditional clauses Requirements Information/communication PRP on food safety Certified companies Promotion Inputs for revision (Generic PRP) Food Safety Management System Food Manufacturing (ISO/TS 22002-1) Feed Packaging material Breeding Catering Distribution Guidance/Interpretation Support/Tools Conformity assessment ISO/TS 22004 ISO 15161 PRP selection SME/developing countries ISO 22005 ISO 22006 Hazard identification/ alert Training …… ISO/TS 22003 ISO 19011 ISO/IEC 17021

การร่วมทำงานระหว่าง ISO/TC 34/SC 17 กับ TC ที่เกี่ยวข้อง Joint Technical Coordination Working Group on Management System Standards (JTCG on MSS) ISO/TMB/ JTCG JTCG/ TG 1 Joint vision on MSS ISO/ TC 34 Food products WG 8 (SC17) JTCG/ TG 3 Terminology ISO/ TC 176 Quality management and quality assurance ISO/ TC 207 Environmental management JTCG/ TG 2 Auditing

การประชุม ISO/TC 34/SC 17 ครั้งที่ 1 มติการประชุมที่สำคัญ ยืนยันให้ใช้มาตรฐาน ISO 22000:2005 ต่อไปอีก 5 ปี เนื่องจาก มาตรฐานเพิ่งประกาศใช้หากมีการปรับเปลี่ยนข้อกำหนดใหม่ ผู้ประกอบการจะได้รับผลกระทบมาก ยืนยันให้ใช้มาตรฐาน ISO/TS 22004 ต่อไปอีก 3 ปี โดยจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมความพร้อมในการแก้ไขมาตรฐานในอนาคต จัดตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำโครงสร้างของอนุกรมมาตรฐาน ISO 22000 ในอนาคต ให้ประเทศสมาชิกร่วมกันพิจารณาร่างมาตรฐาน ISO/CD 19011 และ ISO/IEC CD 17021-2 โดยให้แจ้งข้อคิดเห็นผ่านฝ่ายเลขานุการ