การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ -

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
Product and Price ครั้งที่ 8.
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
การฟื้นฟูตลาดมังคุดในญี่ปุ่น
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ -
Thailand fruit paradise
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
Cake-online.
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
การขนส่งผักและผลไม้.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
กระบวนการส่งออกผลไม้สดไปต่างประเทศ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
น.ส.จันทิมา วรวัตรนารา แอนิเมชั่น&มัลติมีเดีย
แผนธุรกิจร้านเช่า VCD และ DVD
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
The 5 most satisfied items
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
ตลาดสินค้าอาหารในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับปรุงมะม่วงคุณภาพดีเพื่อการส่งออกมงคลธรรมนิมิต
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ขนมฝรั่งกุฎีจีน
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
สภาพแวดล้อมของช่องทางการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ - การส่งออกสู่ญี่ปุ่น - ความสำคัญของเวลาและ คุณภาพ - โดย นายคาโอรุ อิโนอุเอะ ผู้แทนบริษัท เอ ไอซี สำนักงาน กรุงเทพฯ

แนะนำตัว อาชีพ: มีนาคม 2550 - ผู้แทนบริษัท AIC สำนักงานกรุงเทพฯ พฤศจิกายน 2547 - มีนาคม 2550 ผู้ซื้อสินค้านำเข้า (buyer) บริษัท AIC จำกัด ประสบการณ์ - ระบบคุณภาพ HACCP/SQF 2000/EU Gap training course Certification - Vegetable & Fruits Meister certification ความรับผิดชอบ ชำนาญด้านการตลาดและการกระจายสินค้า

หัวข้อ ตอนที่ 1 : ญี่ปุ่นและการกระจายสินค้า ตอนที่ 2 : ผลไม้นำเข้า ตอนที่ 3 : ปัจจัยสู่ความสำเร็จ - ความพอใจของลูกค้า - ตอนที่ 4 - มุมมองของผู้ซื้อ

ที่ตั้งและระยะทางสู่ญี่ปุ่น ตอนที่ 1 ที่ตั้งและระยะทางสู่ญี่ปุ่น ระยะทาง 2,868 ไมล์ ทางเรือ 7 ถึง10 วัน ทางอากาศ : 6 ถึง 7 ชั่วโมง เวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

ประชากรที่อายุมากกว่า 65 มีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.2% ตอนที่ 1 สถิติที่สำคัญ① (1) อัตราการเพิ่มของผู้สูงอายุและการลดการเกิด Thousand Thousand Age 14-64 Age under 14 Age over 65 Age 0-14 Age 15-64 2008 続いて日本における人口動態の変化について 日本の総人口は2006年を境に減少に転じている またご覧いただいているグラフからも明らかなように、日本における「少子高齢化(高齢人口の増加と、年少人口の減少が同時並行的に進んでいること)」は急速に進んでおり、14歳以下の人口は減少の一途、また一方で65歳以上の人口は年々増えてきており、65歳以上の人口比率は 2010年には全体の23.1%、2005年対比で114%になることが想定されている まさに超高齢化社会が日本に到来しようとしている ประชากรที่อายุมากกว่า 65 มีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.2% ในปี 2553 จะเพิ่มเป็น 23.1%        

การกระจายสินค้าทางอากาศ ตอนที่ 1 การกระจายสินค้าทางอากาศ หลังการเก็บเกี่ยวจะใช้เวลา ประมาณ 10 วัน จึงจะถึงผู้บริโภค

การกระจายสินค้าทางเรือ ตอนที่ 1 การกระจายสินค้าทางเรือ หลังการเก็บเกี่ยวจะใช้เวลา ประมาณ 20 วัน จึงจะถึงผู้บริโภค

สรุปตอนที่ 1 ต้องคำนึงถึงช่วงเวลาในการส่ง สินค้าถึงผู้บริโภคในญี่ปุ่น การควบคุมความสุก ในแต่ละสภาวะการขนส่ง

แนวโน้มการนำเข้าผลไม้ ตอนที่ 2 แนวโน้มการนำเข้าผลไม้ ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก ปริมาณการนำเข้า การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น

ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก① ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก① มะม่วงของประเทศไทย 6.4% ・ประเทศอินเดียผลิตมะม่วงปริมาณมากเป็นอันดับหนึ่ง *ประเทศไทยมีสัดส่วนปริมาณมะม่วงร้อยละ 6.4 ของตลาดโลก

ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก② ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงในตลาดโลก② ・ปริมาณมะม่วงโดยรวม 28,000,000 ล้านตัน ・ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นในทุกปี

ปริมาณมะม่วงนำเข้าญี่ปุ่น ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงนำเข้าญี่ปุ่น Unit: Mt *ปี 2550 ญี่ปุ่นมีปริมาณนำเข้ามะม่วงเพิ่มขึ้นร้อยละ 150

ปริมาณมะม่วงนำเข้าของญี่ปุ่น ตอนที่ 2 ปริมาณมะม่วงนำเข้าของญี่ปุ่น

ปริมาณการนำเข้ามะม่วงสดและ มะม่วงแช่แข็ง ตอนที่ 2   ปริมาณการนำเข้ามะม่วงสดและ มะม่วงแช่แข็ง Unit: Mt ・ การนำเข้ามะม่วงสดและมะม่วงแช่แข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น

การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น ตอนที่ 2 การบริโภคผลไม้ในญี่ปุ่น ลดลง อย่างมาก การบริโภค การซื้อต่อครอบครัว 2523 2535 2547 ดูกราฟเส้นรูปกล้วยหอม- การบริโภคผลไม้สดเพียง 114 กรัม ต่อคน ต่อวัน ในปี 2547 ปริมาณการซื้อของครัวเรือนญี่ปุ่น ลดลงร้อยละ 28

สัดส่วนของผลไม้นำเข้า ตอนที่ 2 สัดส่วนของผลไม้นำเข้า Unit:1000Mt Unit:% Imported fruits Share of it 1965 2005 ปริมาณนำเข้าเพิ่มขึ้น 5 เท่าจาก 30 ปีที่ผ่านมา ปริมาณนำเข้าเพิ่มถึง 550 ล้านตัน สัดส่วนผลไม้นำเข้า 60%. *สัดส่วนผลไม้ในประเทศ เพียง 40%

มูลค่าและปริมาณการบริโภคผลไม้ของญี่ปุ่น ตอนที่ 2 มูลค่าและปริมาณการบริโภคผลไม้ของญี่ปุ่น

การบริโภคผลไม้ ปริมาณ: ตอนที่ 2 การบริโภคผลไม้ ปริมาณ:   10 กก. ต่อครอบครัว ต่อปี ( 3-6 คน) ค่าใช้จ่าย:   40,000 เยน ≒ 14,500 บาท ต่อครอบครัว ต่อปี เฉลี่ยการซื้อต่อผลเพียง 141 เยน *ในซุปเปอร์มาร์เกต แนวโน้ม: *ลดลงในแต่ละปี *ถูกแทนที่ด้วยน้ำผลไม้สด ผลิตภัณฑ์แปรรูป และขนมหวาน‘’Sweets” *ลดการจ่าย เนื่องจากค่าครองชีพสูงขึ้น      

ความถี่ของการบริโภคมะม่วง① ตอนที่ 2 ความถี่ของการบริโภคมะม่วง① 2005 2001 ・ความถี่ของการบริโภคมะม่วง เพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า

ความถี่ของการบริโภคมะม่วงในแต่ละวัย ② ตอนที่ 2 ความถี่ของการบริโภคมะม่วงในแต่ละวัย ② 1. ผู้บริโภควัย 50 ปี ซื้อมะม่วงบ่อยที่สุด 2. ผลไม้เมืองร้อนได้รับความสนใจจากวัยหนุ่มสาว

ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะม่วง ตอนที่ 2 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะม่วง ซอสผลไม้ ของหวาน ซอสผลไม้ น้ำผลไม้ พุดดิ้ง ร้านขายผลไม้คุณภาพ วัตถุดิบอาหารแปรรูป นมเปรี้ยว ไอสครีม หวานเย็นรสผลไม้ ผลไม้สด ผลไม้แห้ง โยเกริต น้ำผลไม้

สรุปตอนที่ 2- มะม่วง ในปี 2545 นำเข้า 8,890 ล้านตัน ・ปริมาณนำเข้ามะม่วงเพิ่มขึ้น ในปี 2545 นำเข้า 8,890 ล้านตัน ปี 2550 นำเข้า 13,293 ล้านตัน ・การบริโภคในรูปของหวานและขนม บ่อยครั้งขึ้น และการซื้อเพิ่มขึ้น ・การใช้มะม่วง ทำเป็นขนมเพิ่มขึ้น ・หลายประเทศขอให้ญี่ปุ่นเปิดตลาดผลไม้ มีโอกาสมากในการขยายตลาดมะม่วงในญี่ปุ่น

กุญแจแห่งความสำเร็จ -แง่การตลาด- ตอนที่ 3 กุญแจแห่งความสำเร็จ -แง่การตลาด- ความพอใจของลูกค้า เสียงของลูกค้า รูปลักษณ์ และการนำเสนอ (Appearance and presentation of character) เรียนรู้การส่งเสริมการตลาดที่ดี

ความพอใจของลูกค้าต่อผลไม้เมืองร้อน ตอนที่ 3 ความพอใจของลูกค้าต่อผลไม้เมืองร้อน ความรู้สึกคาดหวังของลูกค้า รสชาติ:ความหวานเป็นสิ่งสำคัญ และเส้นใยน้อย ระดับราคา: สมเหตุผล เนื้อ: เมล็ดเล็ก เนื้อนุ่ม เสียง(บ่น) จากลูกค้า ปอก ตัด อย่างไร: ไม่เคยชิน ทำไม่ได้  เก็บอย่างไร:  ไม่เคยชิน ทำไม่ถูก เมื่อไหร่จะสุกหรือกินได้: ยากที่จะรู้ *จำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่ลูกค้าไม่พอใจ

จุดขายของผลไม้เมืองร้อน ตอนที่ 3 จุดขายของผลไม้เมืองร้อน ความคาดหวังผลไม้จากไทย – * [บรรยากาศไทยๆ หวานและสด] ฤดูกาล * ต้นฤดูใบไม้ผลิ (ปลายเดือนมีนาคม ถึงพฤษภาคม เป็นช่วงดีที่สุด) ซึ่งสามารถสร้างภาพลักษณ์ผลไม้ เมืองร้อนจากไทยได้ คู่แข่ง * ผลไม้เมืองร้อน – มะม่วงจากฟิลิปปินส์ เม็กซิโก อินเดียและไต้หวัน * ผลไม้นำเข้า –เกรปฟรุต ส้ม เชอรี่ จากสหรัฐฯ และกีวี จากนิวซีแลนด๋ * ขนมและของหวาน - น้ำผลไม้ ไอสครีม พุดดิ้ง โยเกริต หวานเย็นรสผลไม้ ฯลฯ แข่งขันในด้านคุณภาพ ราคา และด้วยส่วนเนื้อผลไม้ 26

จุดขาย - สิ่งดึงดูด - ความสด ราคา สี รูปลักษณ์ ตรงฤดูกาล ตอนที่ 3 จุดขาย - สิ่งดึงดูด - ความสด ราคา สี รูปลักษณ์ ตรงฤดูกาล แหล่งที่มา แหล่งผลิต ขนาด น้ำหนัก ความสุก ปลอดสารเคมี อินทรีย์ เมื่อเลือกซื้อจะให้ความสำคัญว่า คุณค่าเหมาะสมกับ ราคาหรือความสด หรือไม่ 27

สร้างความพอใจของลูกค้า① ตอนที่ 3 สร้างความพอใจของลูกค้า① เพื่อแก้ปัญหาความไม่พอใจของผู้บริโภค ให่ข้อมูลวิธีการปอก ตัด และการรับประทานแก่ผู้บริโภค

การควบคุมรูปลักษณ์ด้วยสี ตอนที่ 3 สร้างความพอใจของลูกค้า ② การควบคุมรูปลักษณ์ด้วยสี ・ คิดว่าการจัดวางผลผลิตแบบใดสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อลูกค้า?

สร้างความพอใจของลูกค้า③ รูปลักษณ์ภายนอกและลักษณะผลสุก ตอนที่ 3 สร้างความพอใจของลูกค้า③ รูปลักษณ์ภายนอกและลักษณะผลสุก คิดอย่างไรกับภาพลักษณ์มะม่วง 2 รูปด้านบน? คุณคิดว่าลูกค้าญี่ปุ่นจะยอมรับรูปลักษณ์นี้ได้หรือไม่?

การส่งเสริมและนำเสนอ -มะม่วง- ตอนที่ 3 การส่งเสริมและนำเสนอ -มะม่วง- นำเสนอ : วิธีการเก็บอย่างไร การตัด การรับประทาน

ตัวอย่างที่ดีในการส่งเสริมการขาย -ผลไม้ไต้หวัน- ตอนที่ 3 ตัวอย่างที่ดีในการส่งเสริมการขาย -ผลไม้ไต้หวัน- เผยแพร่ต่อสาธารณชน ดึงดูดด้วยรสชาติ ความสด สินค้าตามฤดูกาล โดยใช้สื่อต่างๆ ดารานักแสดงชื่อเสียงในกลุ่มวัยรุ่น 32

การส่งเสริมการตลาดที่ดี -ส้มจากสหรัฐฯ- ตอนที่ 3 การส่งเสริมการตลาดที่ดี -ส้มจากสหรัฐฯ- คาราวานการขาย โดยแจกชิม และปริมาณ นำแสดงเป็นจำนวนมาก ในซุปเปอร์มาร์เกต 33

การส่งเสริมการตลาดที่ดี -เชอรี่จากสหรัฐฯ- ตอนที่ 3 การส่งเสริมการตลาดที่ดี -เชอรี่จากสหรัฐฯ- เชอรี่จากสหรัฐ ฯ ดึงดูดความสนใจได้มาก ทุกคนจำได้ว่าเมื่อใดถึงฤดูที่มีมากสุด 34

มุมมองของผู้จัดซื้อ (Buyer) ตอนที่ 4 มุมมองของผู้จัดซื้อ (Buyer) สวน ความปลอดภัยอาหาร คุณภาพ การติดต่อตรง ราคา 35

สวน การจัดการ – Global Gap Standard- ระบบเกษตรที่ดีเหมาะสมสากล ตอนที่ 4 สวน การจัดการ – Global Gap Standard- ระบบเกษตรที่ดีเหมาะสมสากล ความปลอดภัยอาหาร Food safety *เป็นไปตามมาตรฐานสารตกค้างของญี่ปุ่น *รัฐบาลไทยควบคุมการใช้สารเคมีสำหรับพืช แต่ฟาร์มข้างเคียงปลูกอีกพืช อาจเกิดปัญหาปนเปื้อนข้ามมา จากฟาร์มอื่นได้ *การป้องกันการปนเปื้อนข้ามจากฟาร์มใกล้เคียง และบันทึกไว้เป็นหลักฐาน 36

ตัวอย่างในการควบคุมสารเคมี ใช้ถุงคลุมทำด้วยกระดาษปลอดสาร ตอนที่ 4 สวน ห้ามการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อผลไม้ เพราะ มีสารเคมีเคลือบอยู่ ทำให้เกิดการปนเปื้อนได้ (Fluorescent Chemical) ตัวอย่างในการควบคุมสารเคมี ล็อคห้องเก็บสารเคมี ใช้ถุงคลุมทำด้วยกระดาษปลอดสาร 37

ตัวอย่างที่ไม่ดี สารเคมี ขยะ ตอนที่ 4 ที่สวน ตัวอย่างที่ไม่ดี สารเคมี ขยะ 38

ตัวอย่างที่ไม่ดี การทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่เรียบร้อย ตอนที่ 4 ที่สวน ตัวอย่างที่ไม่ดี การทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่เรียบร้อย 39

เห็นชัดว่ามีการใช้สารเคมี ตอนที่ 4 ที่สวน ในสวน เห็นชัดว่ามีการใช้สารเคมี อย่างแน่นอน 40

การป้องกันการปนเปื้อนข้ามสวน ตอนที่ 4 การป้องกันการปนเปื้อนข้ามสวน ที่สวน ปลูกแยก แบ่งแยกระยะ(5M) ข้าวโพดหวาน 41

สำคัญอันดับหนึ่ง‐ความปลอดภัยอาหาร ตอนที่ 4 สำคัญอันดับหนึ่ง‐ความปลอดภัยอาหาร มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ① ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น ความปลอดภัยอาหาร สุขอนามัยการผลิต การเกษตรที่เหมาะสม การควบคุมอันตรายต่อความปลอดภัยอาหารในกระบวนการผลิต: HACCP COC = Code of Conduct, การผลิตอย่างรับผิดชอบ การสืบย้อนกลับแหล่งที่มา การตรวจสอบโดยบุคคลที่สาม Certified by 3rd party 42

‐ความปลอดภัยอาหาร - การตรวจพบสารเคมีตกค้าง ม.ค. 2549 – ก.พ. 2551 ตอนที่ 4 ‐ความปลอดภัยอาหาร - การตรวจพบสารเคมีตกค้าง ม.ค. 2549 – ก.พ. 2551 43

‐ความปลอดภัยอาหาร- การตรวจพบสารเตมีตกค้าง ม.ค. 2549 – ก.พ. 2551 ตอนที่ 4 ‐ความปลอดภัยอาหาร- การตรวจพบสารเตมีตกค้าง ม.ค. 2549 – ก.พ. 2551 *พบในผักเป็นส่วนใหญ่ *การใช้สารเคมีไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้พบสารตกค้าง *แม้จะใช้อย่างถูกต้องอาจปนเปื้อนข้ามมาจากสวนอื่น 44

การป้องกัน บันทึกการพ่นยา ถ้าไม่มีบันทึก ผู้ซื้อไม่อยากซื้อ ตอนที่ 4 การป้องกัน บันทึกการพ่นยา ถ้าไม่มีบันทึก ผู้ซื้อไม่อยากซื้อ ติดตามข้อมูล มาตรฐานสารฯ ตกค้างของแต่ละประเทศ ใช้สารเคมีตามที่กำหนด เท่านั้น ก่อนและหลังเก็บ ต้องตรวจสารเคมี ตกค้างโดยใช้ 3rd party. 45

สำคัญอันดับ 2 -คุณภาพ- มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ② ชนิด Variety ตอนที่ 4 สำคัญอันดับ 2 -คุณภาพ- มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ② ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น ชนิด Variety ขนาด Size range ความสุก Matured การบรรจุ Packing 46

มาตรฐานสี *เก็บที่ระดับสีไหน *อบไอน้ำเมื่อระดับสีใด ตอนที่ 4 มาตรฐานสี *เก็บที่ระดับสีไหน *อบไอน้ำเมื่อระดับสีใด *ขายให้ตลาดญี่ปุ่นที่ระดับสีไหน

อันดับ 3 -ราคา - มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ③ ตอนที่ 4 อันดับ 3 -ราคา - มุมมองของผู้ซื้อ (Buyer) ③ ข้อกำหนดของผู้ซื้อญี่ปุ่น ผู้ค้าปลีก และผู้ค้าส่งญี่ปุ่น ราคา การส่งเสริมการขาย ความสม่ำเสมอของปริมาณ มีของตลอดปี 48

การแข่งขันกับประเทศอื่น - มะม่วง ตอนที่ 4 การแข่งขันกับประเทศอื่น - มะม่วง 49

การแข่งขันกับผลไม้อื่น ในเดือนมีนาคม – กรกฎาคม ตอนที่ 4 การแข่งขันกับผลไม้อื่น ในเดือนมีนาคม – กรกฎาคม *One of Major chain Super market data ผลไม้เมืองร้อน&มะม่วง ผลไม้อื่น ๆ * ราคาปลีกเฉลี่ย ของผลไม้เมืองร้อน \338 ในปี 2551 \329 ในปี 2550 * ราคาปลีกเฉลี่ย ของมะม่วง\373 ในปี 2551\340 ในปี 2550 * เฉลี่ยของเสียและทิ้ง 20% 50

การแข่งขันราคา ผลไม้อื่น แม้ว่าผลไม้ไทยจะน่าสนใจในเรื่อง ตอนที่ 4 การแข่งขันราคา ผู้ซื้อตัดสินใจจากราคาที่สมดุลย์กับ ผลไม้อื่น แม้ว่าผลไม้ไทยจะน่าสนใจในเรื่อง รสชาติแต่ต้องชนะผลไม้คู่แข่งอื่นให้ได้ ถ้าต้องการขายในราคาแพงต้องทำ เป็นไปตามที่ลูกค้าและผู้ซิ้อต้องการให้ได้ แต่ก่อน สามารถเก็บแล้วขายได้เลย แต่ ปัจจุบันไม่ใช่เช่นนั้น จำเป็นต้องมีความแตกต่างจากของอื่นๆ 51

การขายตรงจากเกษตรกรถึง ผู้ค้าปลีก ตอนที่ 4 การขายตรงจากเกษตรกรถึง ผู้ค้าปลีก ตัวอย่างในญี่ปุ่น สินค้าเน่าเสียง่าย การส่งตรงไปผู้ค้าปลีก สัญญาระหว่างกัน 1. ต้องผ่านมาตรฐาน ความปลอดภัย อาหารและการผลิต ที่รับผิดชอบ 2. รายละเอียดสินค้า 3. ช่วงเวลา 4. ปริมาณ 5. ราคา เจรจาตรงกับเกษตรกร 52

มะม่วง เป็นไปได้ในการขายตรงจากเกษตรกร ไปสู่ผู้ค้าปลีกในญี่ปุ่น ตอนที่ 4 มะม่วง เป็นไปได้ในการขายตรงจากเกษตรกร ไปสู่ผู้ค้าปลีกในญี่ปุ่น ถ้าสามารถตกลงเงื่อนไข สามารถทำ สัญญาซื้อ 200 ตัน ต้องเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนด เราต้องการร่วมเป็นหุ้นส่วนกับเกษตรกรไทย 53

ขอบคุณครับ 54