การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ การพัฒนาเครือข่าย การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน จังหวัดอ่างทอง
ปัญหาของจังหวัดอ่างทอง ปี 2555 - อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น 58.47 % อัตราการคุมกำเนิดในวัยรุ่น 50.57 % แม่คลอดบุตรอายุ 10 – 19 ปี 20.07 % ปี 2556 -แม่คลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี 20.87 % ปัญหาวัยรุ่นอื่นๆ โรค STD HIV สุขภาพจิต ยาเสพติด แอลกอฮอล์
พื้นที่ดำเนินการ 7 อำเภอ โรงเรียนมัธยม 7 แห่ง งบประมาณ 252,000 บาท
กิจกรรม 1. จัดประชุมคณะทำงานเครือข่ายระดับ จังหวัด 30 คน จำนวน 2 ครั้ง 1. จัดประชุมคณะทำงานเครือข่ายระดับ จังหวัด 30 คน จำนวน 2 ครั้ง องค์ประกอบของคณะทำงาน 1. ผู้รับผิดชอบงานคลินิกวัยใสของ รพท./รพช. 2. ผู้รับผิดชอบงานคลินิกเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี 4. นักวิชาการของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
บทบาทหน้าที่ 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. ประเมิน สรุปผลการดำเนินงาน ประชุมวางแผน ครั้งที่ 1 (16 ต.ค.56)
กิจกรรม 2. สร้างกลุ่มวัยรุ่นแกนนำระดับตำบล ตำบลละ 5 คน รวม 385 คน
วิธีการสร้างกลุ่ม 1. ระดับตำบล ร่วมกับท้องถิ่น ช่วยกันคัดเลือกแกนนำวัยรุ่น 2. ระดับอำเภอจัดอบรม พัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่น 1 วัน ครอบคลุม เนื้อหา ดังนี้ 2.1 ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด ฯลฯ 2.2 ช่องทางการเข้าถึงบริการในคลินิกวัยใส 2.3 การเก็บข้อมูล รายงานผลการดำเนินงาน 3. จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานแก่แกนนำวัยรุ่นทั้งในระดับ ตำบลเดือนละ 1 ครั้ง และระดับอำเภอ 1 ครั้ง
กิจกรรม 3. ส่งเสริมการจัดมุมให้ความรู้ และให้ คำปรึกษาในโรงเรียนมัธยม 7 แห่ง (เพิ่มเป็น 8 แห่ง)
กิจกรรม 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ด้านความรู้ และการ การเข้าถึงระบบบริการของวัยรุ่น ช่องทางการสื่อสาร 1. วิทยุชุมชน 2. บูทนิทรรศการ ในแหล่งชุมชน (BIG C) 3. ป้ายประชาสัมพันธ์ 4. Face book
กิจกรรม 5. พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาในคลินิกวัยใสของ โรงพยาบาล 7 แห่ง
ประเมินสภาพ/สถานการณ์ /ซักประวัติ ให้คำปรึกษาเบื้องต้นตามแต่สภาพปัญหา คลินิกวัยใสใน รพ. GREEN CARD GREEN CARD ประเมินสภาพ/สถานการณ์ /ซักประวัติ ให้คำปรึกษาเบื้องต้นตามแต่สภาพปัญหา จ่ายถุงยาง อนามัย การคุมกำเนิด ตรวจการตั้งครรภ์ ส่งตรวจSTI ส่งตรวจHIV
กิจกรรม 1. แบบบันทึกการให้คำปรึกษา 2. แบบบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ 6. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลทั้งด้านการรายงานและการส่งต่อบริการ 1. แบบบันทึกการให้คำปรึกษา 2. แบบบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ
1. ร้อยละ 80 ของ รพ.ที่มีคลินิกวัยรุ่น มีระบบ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของ รพ.ที่มีคลินิกวัยรุ่น มีระบบ การส่อต่อบริการจากการดำเนินงานเชิงรุก 2. จำนวนเยาวชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้รับความรู้ฯ และเข้าถึงบริการให้คำปรึกษา
1. การดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่แกนนำใน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. การดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่แกนนำใน ชุมชน / รร. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ การให้บริการ 2. เกิดระบบการส่งต่อบริการจากเครือข่าย เข้าสู่บริการเชิงรับ 3. ระบบข้อมูลการให้บริการ
เด็กยุคเก่า (มากๆๆ)
เด็กยุคใหม่
การจัดบริการคลินิกวัยรุ่น
1. ระยะเตรียมการ 1. กำหนดผู้รับบริการ กรรมการภายใน รพ. /เครือข่าย 2. การเตรียมข้อมูล ข้อมูลพื้นฐาน /ความต้องการของวัยรุ่น/ ปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นในพื้นที่ 3. จัดทำแผนงานโครงการ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ 4. การประชุมคณะกรรมการ 5. การสื่อสารภายใน รพ. 6. การจัดทำระบบบริการร่วมกันกับเครือข่าย
2. ระยะดำเนินการ 1. การจัดรูปแบบคลินิกวัยรุ่น แยกเฉพาะ/ผสมผสานกับคลินิกเดิม 2. การจัดบริการ ใครคือผู้ให้บริการ / ผังการให้บริการที่ชัดเจน /เวลา /ขั้นตอนบริการ/การรักษาความลับ/การส่งต่อบริการ 3. กิจกรรมเชิงรุก.......... 4. การติดตามประเมินผล ข้อมูลที่สำคัญ ดังต่อไปนี้
ข้อมูลที่สำคัญ 1. จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 10 – 24 ปี จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ 2. จำนวนผู้รับบริการวัยรุ่น แยกตามกลุ่มอายุ เพศ และประเภทของบริการ 3. จำนวนและร้อยละของวัยรุ่นอายุ 10- 19 ปี ที่มาคลอดบุตร4. อัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น 15 – 19 ปี ต่อปชก.หญิงอายุ 15-19 ปี 1000 คน 5. จำนวนและร้อยละของแม่วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี มาฝากครรภ์
ข้อมูลที่สำคัญ 6. จำนวนและร้อยละการป่วยโรคเอดส์ของวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี 7. จำนวนและร้อยละการป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชน อายุ 15-19 ปี ต่อประชากร 100,000 คน 8. จำนวนและร้อยละของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี แท้งบุตร (รวมทำแท้งและแท้งเอง) 9. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการวัยรุ่น 10. ร้อยละการเข้าถึงบริการ และการใช้บริการของคลินิกวัยรุ่น
ข้อมูลที่สำคัญ 11. บทเรียนและปัจจัยสู่ความสำเร็จของการดำเนินงาน ควรมีการสำรวจปัญหาวัยรุ่นในพื้นที่ เพื่อเป็น evidence base
แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 3. ระยะประเมินตนเอง แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน สามารถ Download ได้จาก http://rh.anami.moph.go.th
กำหนดการจัดประชุมแกนนำวัยรุ่น - จัดรวมภาพจังหวัด - จัดแยกตาม CUP ภารกิจวันนี้ กำหนดการจัดประชุมแกนนำวัยรุ่น - จัดรวมภาพจังหวัด - จัดแยกตาม CUP ที่ไหน/เมื่อไร /ทีมวิทยากร 2. การบริหารจัดการงบประมาณ หลักฐาน/ การเบิกจ่ายงบประมาณ
3. การจัดทำรายงาน - ร่วมกันวิเคราะห์แบบบันทึก ภารกิจวันนี้ 3. การจัดทำรายงาน - ร่วมกันวิเคราะห์แบบบันทึก
*Thank you*
อ.เมือง = 70 อ.วิเศษ = 75 โพธิ์ทอง = 85 ไชโย = 45 แสวงหา = 35 สามโก้ = 25 ป่าโมก = 50 วันที่