การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ. ศ พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 หมวด 6 วินัยและการรักษาวินัย หมวด 7 การดำเนินการทางวินัย
พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
การดำเนินการทางวินัยข้าราชการ ร้องเรียนกล่าวหา (มาตรา ๙๐) ชี้มูลความผิด (มาตรา ๙๑) สอบสวน (มาตรา ๙๒,๙๓,94) รายงาน (มาตรา ๑๐๓)
๑. กระบวนการร้องเรียนกล่าวหา ปปช. ปปท. คตง. สสจ. อธิบดี สสอ. ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ปลัด กระทรวง ผอ.รพ.
กระบวนการชี้มูลความผิด (ผบ.มาตรา ๕๗) สืบสวน ทำเอง แต่งตั้งกรรมการ มอบหมายบุคคล พิจารณา
ขั้นตอนการดำเนินการทางวินัย กรณีปกติทั่วไป กรณีไม่ใช่ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง กรณีมีเหตุพิเศษ ออกจากราชการไปแล้ว ตามมติ ปปช.-ปปท.
ขั้นตอนการดำเนินการทางวินัย การดำเนินการทางวินัย (กรณีปกติ) ไม่ร้ายแรง (มาตรา 92) แต่งตั้งคณะกรรมการ ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการ ร้ายแรง (มาตรา 93,94)
การดำเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรง แจ้งข้อกล่าวหา แจ้งสรุปพยานหลักฐาน รับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา
การดำเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรง ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้ โดยปกติควรแต่งตั้ง ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการก็ได้ ยกเว้นกรณี ตามกฎ ก.พ.ฉบับที่ ๑๓
การดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อกำหนดแนวทางการสอบสวน + แจ้งข้อกล่าวหา (แบบ สว.2) ภายใน ๑๕ วัน รวบรวมพยานหลักฐานฝ่ายกล่าวหา ภายใน 60 วัน แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา (ตามแบบ สว.3) ภายใน ๑๕ วัน
การดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง รวบรวมพยานหลักฐานฝ่ายผู้ถูกกล่าวหา ๖๐ วัน ประชุมพิจารณาลงมติ+จัดทำรายงานการสอบสวน ภายใน ๓๐ วัน รวมทุกขั้นตอน ๑๘๐ วัน
การลงโทษทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง คกก.รายงานผลการสอบสวน ผบ.ตามมาตรา ๕๗ พิจารณาโทษ ยุติเรื่อง-งดโทษ -ลงโทษ รายงานไป อ.ก.พ.กระทรวง
การลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง คกก.รายงานผลการสอบสวน ผบ.ตามมาตรา ๕๗ พิจารณาโทษ รายงาน อ.ก.พ. เพื่อพิจารณา ลงโทษปลดออก-ไล่ออก รายงานไปยัง อ.ก.พ.กระทรวง รายงานไปยัง ก.พ.
ขั้นตอนการพิจารณาโทษ ความเห็น คกก.+ผบจ. เห็นว่าไม่ผิด ยุติเรื่อง คกก.+ผบจ.เห็นว่าผิดไม่ร้ายแรง งดโทษ/ลงโทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน คกก.หรือ ผบจ.เห็นว่า ผิดร้ายแรง รายงาน อ.ก.พ.