สาระที่ 4 พีชคณิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
คุณสมบัติการหารลงตัว
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
แบบรูปและความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
วิธีการคิดวิเคราะห์.
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระที่ 4 พีชคณิต

สาระที่ 4 พีชคณิต: แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ฟังก์ชันเซตและการดำเนินการของเซต การให้เหตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนำไปใช้แก้ปัญหา

ตัวชี้วัดมาตรฐาน ค 4.1 1. บอกจำนวนและความสัมพันธ์ ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 และลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50 และแบบรูปซ้ำ 2. บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสีที่สัมพันธ์กันสองลักษณะ

ตัวอย่างโจทย์

กำหนดภาพของแบบรูปเป็นดังนี้ จากแบบรูปที่กำหนด จงเขียนภาพของแบบรูปถัดไป ข้อที่ 1 กำหนดภาพของแบบรูปเป็นดังนี้ จากแบบรูปที่กำหนด จงเขียนภาพของแบบรูปถัดไป

ตอบ

แนวคิด ใช้ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาของโพลยา ดังนี้ 1. ทำความเข้าใจปัญหา ใช้ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาของโพลยา ดังนี้ 1. ทำความเข้าใจปัญหา โจทย์ถามอะไร เขียนภาพของแบบรูปถัดไป(รูปที่ 4) 2. เรารู้อะไรจากโจทย์บ้าง แบบรูปที่กำหนดให้ทั้งหมด 3 รูป เป็นรูปสามเหลี่ยม ในสามเหลี่ยมแต่ละรูปจะมีสามเหลี่ยมย่อยอยู่ในนั้นอีก 4 รูป และในรูปสามเหลี่ยมย่อยนั้นจะมีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและรูปวงกลม

3. ลงมือแก้ปัญหา พิจารณาว่า 3 รูปนี้มีการระบายสีอย่างไร ในรูปสามเหลี่ยมจะมี อยู่แถวบน รูป อยู่แถวล่าง การระบายสีจะระบายสลับกันระหว่าง ล่าง-บน-ล่าง-บน สลับกันไปเรื่อยๆ ฉะนั้นรูปถัดไป (รูปที่ 4) จะระบายสีแถวบน

เพราะฉะนั้น รูปถัดไปจึงเป็นดังนี้ เพราะฉะนั้น รูปถัดไปจึงเป็นดังนี้

4. ตรวจคำตอบ เป็นการพิจารณาคำตอบที่ได้ ถูกต้องสมเหตุสมผลหรือไม่ ซึ่งจะพบว่า การระบายสีเป็นไปตามกฎ คือ สลับแถวระหว่างแถวล่างกับแถวบน

ข้อที่ 2 พิจารณาความสัมพันธ์ของตัวเลขในชุด A, ชุด B และชุด C

จงวิเคราะห์ว่าข้อใดถูกต้อง แสดงวิธีการหาคำตอบ พร้อมให้เหตุผล

ตอบ ข้อที่ 1  = 2

แนวคิด ต้องหาค่าจำนวนแทนสัญลักษณ์ในแต่ละชุด ชุด A หาคำตอบของรูป โดยการนับ เพิ่มทีละ 2 ได้คำตอบเป็น 8 ชุด B หาคำตอบของรูป โดยการนับลด ทีละ 4 ได้คำตอบเป็น 16 ชุด C หาคำตอบของรูป โดยการนับลด ทีละ 5 ได้คำตอบเป็น 24

การหาคำตอบในแต่ละข้อว่าข้อใดถูกต้อง ดังนี้ นำคำตอบที่ได้มาแทนค่าของสัญลักษณ์ แล้วดำเนิน การหาคำตอบในแต่ละข้อว่าข้อใดถูกต้อง ดังนี้ 1.  = 2 แทนค่า 16  8 = 2 2 = 2  2.  = 84 แทนค่า 24  8 = 84 192 = 84 X 3. + = 10 แทนค่า 8 + 24 = 10 32 = 10 X

ดังนั้นคำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1 เพราะเป็นคำตอบที่สมเหตุสมผล 4. - = 20 แทนค่า 16 – 24 = 20 (-8) = 20 X ดังนั้นคำตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ 1  = 2 เพราะเป็นคำตอบที่สมเหตุสมผล

ข้อที่ 3 นำตัวเลขที่แทน , และ มาเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้อย่างไร แสดงวิธีการหาคำตอบ พร้อมให้เหตุผล

ตอบ 24 , 16 , 8

แนวคิด จากคำตอบของ ชุด A หาคำตอบของรูป โดยการ นับเพิ่มทีละ 2 ได้คำตอบเป็น 8 ชุด B หาคำตอบของรูป โดยการ นับลดทีละ 4 ได้คำตอบเป็น 16 ชุด C หาคำตอบของรูป โดยการ นับลดทีละ 5 ได้คำตอบเป็น 24

แล้วนำ 8 , 16 และ 24 มาเรียงลำดับ โดยเปรียบเทียบค่าประจำหลักของแต่ละจำนวน ซึ่งเรียงค่าจากมากไปน้อยได้ดังนี้ 24, 16 และ8

ข้อที่ 4 จำนวนใน คือ จำนวนใด แสดงวิธีการหาคำตอบ พร้อมให้เหตุผล

ตอบ จำนวนใน คือ 46

แนวคิด กำหนดให้ A 26 B 15 C 87 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ C - ( A + B ) = แทนค่า 87 - ( 26+15 ) = 46 ดังนั้น จำนวนใน คือ 46

ดังนั้น จำนวนใน คือ 46 เพราะ   ดังนั้น จำนวนใน คือ 46 เพราะ   46 15 26 87 26 + 46 + 15 = 87

ข้อที่ 5 จำนวนใน คือจำนวนใด แสดงวิธีการหาคำตอบ พร้อมให้เหตุผล

จากโจทย์ แบ่งการพิจารณาออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 37 8 19 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 37 – ( 8 + 19 ) = ⎕ 37 – 27 = 10

เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 56 + 10 = ⎕ ส่วนที่ 2 56 10 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 56 + 10 = ⎕ ดังนั้น จำนวนใน ⎕ คือ 66

ตรวจสอบคำตอบที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ ระหว่างการเท่ากันของแถวล่างและแถวบน + ( 37 - 8 ) = 66 + 19 56 + 29 = 85 85 = 85 ดังนั้น จำนวนใน ⎕ คือ 66 เป็นคำตอบที่ถูกต้อง

ต้องการสร้างรูปสามเหลี่ยมโดยใช้ไม้ขีดไฟ ตามแบบรูปต่อไปนี้ ข้อที่ 6 ต้องการสร้างรูปสามเหลี่ยมโดยใช้ไม้ขีดไฟ ตามแบบรูปต่อไปนี้   ถ้าต้องการสร้างรูปสามเหลี่ยม 15 รูป จำเป็นต้องใช้ไม้ขีดไฟทั้งหมดกี่ก้าน

แนวคิด ลำดับที่ (n) 1 2 3 …. 15 ใช้ไม้ขีดไฟ(ก้าน) 5 7 ?

ดังนั้น ต้องใช้ไม้ขีดไฟในการสร้างรูปสามเหลี่ยม 15 รูป ลำดับที่ (n) 1 2 3 …. 15 ใช้ไม้ขีดไฟ(ก้าน) 5 7 31 หาค่าไม้ขีดไฟ(ก้าน) n + (n+1) 1+(1+1) 2+(2+1) 3+(3+1) 15+(15+1) ดังนั้น ต้องใช้ไม้ขีดไฟในการสร้างรูปสามเหลี่ยม 15 รูป ทั้งหมด 31 ก้าน

…THE END… ผู้จัดทำ นางปรียานุช แพ่งสุภา ครูโรงเรียนไตรธารวิทยา นางปรียานุช แพ่งสุภา ครูโรงเรียนไตรธารวิทยา นางสุนัฐฐา บานใจ ครูโรงเรียนบ้านน้ำเกี๋ยน นางสาวพรทิพย์ นุหน่อ ครูโรงเรียนบ้านน้ำงาว …THE END…