การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
Advertisements

การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
นำเสนอต่อ ผู้บริหารของกรมสุขภาพจิต
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕.
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
แนวทางการดำเนินการลดขั้นตอน
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ กลุ่มนโยบายและ ยุทธศาสตร์
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดย : วราภรณ์ สิมสินธุ์

ความเป็นมา ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ.. 2546- 2550) - กำหนดให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการและ วิธีการทำงาน - กระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการ ทำงานของ หน่วยงานราชการ ให้อยู่ในระดับสูงเทียบเท่า มาตรฐานสากล ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1

สำนักงาน ก.พ.ร. - เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐมีประสิทธิภาพ - เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ - ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกิดจำเป็น - ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก -ได้รับการตอบสนองความต้องการ -มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กำหนดเป้าหมาย สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - ปรับปรุงและมุ่งเน้นคุณภาพของผลิตภัณฑ์และ บริการ - กรอบการบริหารจัดการที่เป็นกรอบเดียวกัน - มีภาษาในการบริหารจัดการที่สื่อสารกันได้ - มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ และทักษะ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (MBNQA)

เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award - TQA ) - กระตุ้นให้องค์กรพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ หรือบริการ - มุ่งพัฒนาสู่ความเป็นเลิศในทุก ๆ ด้าน - กระตุ้นให้องค์กรธุรกิจปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย 2 ส่วน 1) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2) ลักษณะสำคัญขององค์กร - มีกระบวนการทำงานและผลการปฏิบัติงาน ที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น - รู้จักประเมินผล รู้จักการแข่งขัน รู้จักการปรับปรุง รู้จักการพัฒนา

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วยเกณฑ์ 7 หมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วยเกณฑ์ 7 หมวด หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ หมวด3 การให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย กระบวนการ ให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกณฑ์เหล่านี้ ถูกจัดเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเน้นให้เห็นความสำคัญว่า ในการนำองค์กร ผู้บริหารของส่วนราชการต้องกำหนดทิศทางของส่วนราชการ โดย ที่ต้องมีการมุ่งที่ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และการให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ กลุ่มนี้แสดงให้เห็นว่า ทั้งบุคลากรและกระบวนการมีบทบาทในการทำให้การดำเนินงานสำเร็จ และนำไปสู่ผลลัพธ์การดำเนินการของส่วนราชการ ส่งผลให้ส่วนราชการมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล และมีการปรับปรุงผลการดำเนินการโดยใช้ข้อมูลจริงและองค์กรความรู้เป็นแรงผลักดัน สอดคล้องกับคำรับรองการปฏิบัติราชการใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติด้านคุณภาพากรให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร