สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
ผู้จัดทำ เสนอ ดร.สุมน คณานิตย์
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
เรื่องการทดลองน้ำยาล้างจาน
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ชุดตรวจหาชนิดสารเคมีกำจัดแมลง ในผัก ผลไม้ และธัญพืช
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
การปลูกพืชกลับหัว.
โรคอุจจาระร่วง.
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การบริหารยาทางฝอยละออง
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
เคล็ดลับ.....ถนอมเห็ดฟางให้กินได้นาน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ความเสี่ยงอันตรายจาก
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
: ชุดทดสอบสารกำจัดแมลง กลุ่มไพรีทรอยด์
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
วิชา งานสีรถยนต์.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
วิธีการประหยัดพลังงาน
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช คือ วัตถุมีพิษที่นำมาใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืช สัตว์ และมนุษย์ ทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรมและ สาธารณสุข

เมื่อได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าร่างกาย ผลกระทบต่อสุขภาพ เมื่อได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าร่างกาย จะเกิดปฎิกิริยาเคมีกับเอนไซม์ในร่างกาย มีผลทำให้เกิดการขัดขวางการทำหน้าที่ตามปกติ ของระบบประสาททั้งในคนและสัตว์

ขึ้นกับคุณสมบัติสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ความเป็นพิษ ขึ้นกับคุณสมบัติสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ปริมาณความถี่ สุขภาพของผู้ได้รับสารพิษ อาการที่ปรากฏ อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ มึนงง หายใจลำบาก แน่นในอก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ลิ้นและหนังตา กระตุก ชักหมดสติ

ผักสด ผลไม้สด ตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการตรวจสอบ ใช้ชุดทดสอบตรวจ

ชุดทดสอบหายาฆ่าแมลงในอาหาร (กลุ่มฟอสเฟต, คาร์บาเมต)

ปริมาณสารเคมี กำจัดศัตรูพืชกลุ่มสารประกอบ เกณฑ์กำหนด ปริมาณสารเคมี กำจัดศัตรูพืชกลุ่มสารประกอบ ฟอสเฟตและหรือสารคาร์บาเมต ที่ให้ผลขัดขวาง การทำงานของเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ได้ไม่เกิน ร้อยละ 50 ผักสด ผลไม้สด ตัวอย่างเป้าหมาย ปลาเค็ม

อุปกรณ์ระเหยตัวอย่าง จีที 1 หลอดหยดพลาสติก จีที 2 จีที 2.1 หลอดหยดแก้ว อุปกรณ์ชุดทดสอบ อุปกรณ์อื่น น้ำยาสกัด 1 ถาดน้ำอุ่น เทอร์โมมิเตอร์ น้ำยาสกัด 2 อุปกรณ์ระเหยตัวอย่าง จีที 1 หลอดหยดพลาสติก จีที 2 จีที 2.1 หลอดหยดแก้ว จีที 3 จีที 3.1 หลอดทดลอง จีที 4 ขวดพลาสติก จีที 5 ที่ตั้งหลอด คู่มือชุดทดสอบ

อุณหภูมิ 35 - 37 องศา C

4 ขีด = 1 มิลลิลิตร 2 ขีด = 0.5 มิลลิลิตร 1 ขีด ครึ่ง

ขั้นตอนการทดสอบ หั่นให้เล็ก ๆ

ตักประมาณ 5 กรัม ใส่ขวดพลาสติก สูง 2 ขีด ผัก ผลไม้ ที่มีน้ำมาก ตักประมาณ 2.5 กรัม ใส่ขวดพลาสติก สูง 1 ขีด

เติมน้ำยาสกัด 1 …..5 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ประมาณ…... 15 นาที

ดูดน้ำยาจากสารละลายสกัดตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร ดูดน้ำยาจากสารละลายสกัดตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร กรณี ผัก ผลไม้ ที่มีน้ำมากดูดสารละลายสกัด 2 มิลลิลิตร

เติมน้ำยาสกัด 2 …..1 มิลลิลิตร

ต้งแต่ขั้นตอนนี้ทำในอ่างน้ำอุ่น ระเหยจนชั้นล่าง (สกัด 1) จนแห้ง ต้งแต่ขั้นตอนนี้ทำในอ่างน้ำอุ่น

หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3 ดูดน้ำยาสกัด 2 จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) ดูดน้ำยาจากสกัดตัวอย่าง จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) เติมน้ำยา GT 1 จำนวน 2 ขีด (0.50 มล.)

เติมน้ำยา GT 1 จำนวน 2 ขีด (0.50 มล.) (30 นาที) ทิ้งไว้ 5 - 10 นาที

ระหว่างรอเวลา ผสมสารละลายดังนี้ GT 2.1 ลงใน GT 2 GT 3.1 ลงใน GT 3

หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 2 ผสม จำนวน 1.5 ขีด (0.375 มล.) เติมน้ำยา GT 2 ผสม จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) ทิ้งไว้ 30 นาที ตามเวลาที่เขียนไว้ที่ GT 1

หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 3 ผสม จำนวน 4 ขีด (1 มิลลิลิตร)

หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 4 จำนวน 2 ขีด (0.50 มิลลิลิตร)

หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 5 จำนวน 2 ขีด (0.50 มิลลิลิตร)

อ่านผล หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

อ่านผล หลอดที่ 3 สีอ่อนหรือเท่ากับ หลอดที่ 2 ไม่พบยาฆ่าแมลง หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

อ่านผล หลอดที่ 3 สีอ่อนกว่า หลอดที่ 1 แต่เข้มกว่าหลอดที่ 2 พบยาฆ่าแมลง อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

พบยาฆ่าแมลงในปริมาณมากเกินค่าความปลอดภัย อ่านผล หลอดที่ 3 สีเข้มกว่าหรือเท่ากับ หลอดที่ 1 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 พบยาฆ่าแมลงในปริมาณมากเกินค่าความปลอดภัย

แนวทางการปฎิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบเสร็จแล้ว 1. ผักที่มีน้ำยาสกัด 1 แช่อยู่ในขวดพลาสติก ให้เทใส่ภาชนะปากกว้าง นำไปวางกลางแดดหรือวางที่โล่งแจ้งให้น้ำยาระเหยหมด ก่อนที่นำไปทิ้ง (ระวังอย่าวางใกล้เปลวไฟ ทำให้น้ำยาสกัด 1 ติดไฟได้) 2. น้ำยาสสมจีที 2 และ น้ำยาผสมจีที 3 เมี่อผสมแล้วเก็บในตู้เย็น ใช้ได้ 1 สัปดาห์

ข้อควรระวัง น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ 1 มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

น้ำยาที่ใช้ในการตรวจ หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ข้อควรระวัง น้ำยาที่ใช้ในการตรวจ หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

การเก็บรักษาชุดทดสอบ เก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส อายุการใช้งาน 6 เดือน

คำแนะนำเพื่อความปลอดภัยในการบริโภค ล้างผักและผลไม้ด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครั้ง แช่ผักและผลไม้ในน้ำยาล้างผัก และล้างน้ำยา ให้หมดด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครั้ง ผักและผลไม้ที่ปอกเปลือกได้ ควรล้างน้ำ ให้สะอาดก่อนปอกเปลือก การต้มจะช่วยลดปริมาณสารเคมีในผักสดได้

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง