นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การนำผลการวิจัยไปใช้
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
งานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนปฏิบัติการด้านคุ้มครองผู้บริโภค อบต.ปากพูน
ภาพความสัมพันธ์การทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ท่าข้าม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี วันที่ 19 มีนาคม 2556

GOAL เข้าถึง ปลอดภัย เสมอภาค เป็นธรรม

3 Problems * เข้าใจว่าเป็นหน้าที่ของรัฐ * เข้าใจว่าเป็นหน้าที่ของรัฐ * ละทิ้ง นิ่งเฉย ธุระไม่ใช่ ไม่ร้องเรียน * ไม่นิ่งเฉย....แต่ไม่รู้จะไปร้องเรียนได้ที่ไหน * ร้องแล้ว.....แต่ไม่มีการแก้ไข หรือแก้ไขล่าช้า P3 ปัญหาความรุนแรงระดับพื้นที่ อาหาร * 80 % เป็นเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร โดยเฉพาะ “น้ำมันทอดซ้ำ” สารโพลาร์ * สินค้าหนีภาษีที่ไม่มีคุณภาพ / ไม่ปลอดภัย * สวยซ่อนเสี่ยง

KSF (Key Success Factors) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ KSF 4 กลไกผ่าน 3 setting ของ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” & MOU

KSF (Key Success Factors) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (ต่อ) KSF 4 กลไกผ่าน 3 setting ของ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” & MOU 4.1 ภาคประชาชนและชุมชน (มี 3 ฐานะ) ฐานะที่ 1 ผู้ประกอบการ ฐานะที่ 2 ผู้บริโภค ฐานะที่ 3 นักเรียน ผู้บริโภครุ่นเยาว์ 4.2 ภาครัฐ (มี 2 ฐานะ) ฐานะที่ 1 ท้องที่ (กำนัน / ผู้ใหญ่บ้าน)  เฝ้าระวังหลัก ความมั่นคงปลอดภัย ฐานะที่ 2 ท้องถิ่น (อบต.,เทศบาล)  เจ้าภาพหลัก 4.3 ภาควิชาชีพ/วิชาการ (มี 3 ฐานะ) ฐานะที่ 1 สาธารณสุข (หมอ) ฐานะที่ 2 ศึกษา (ครู) ฐานะที่ 3 วัด (พระ)

ขั้นตอนกลไกสำคัญ เน้นกระบวนการทีส่วนร่วมด้วยกลไกสมานฉันท์ ระดมความคิดเห็นเรื่องปัญหาผู้บริโภคที่พบเจอจริงในพื้นที่ด้วยประสบการณ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท (Groupping) 2.1 ปัญหาการกินอาหาร (P1) 2.2 ปัญหาการใช้สินค้า (P2) 2.3 ปัญหาจากการใช้บริการ (P3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก “สถานการณ์สำคัญที่ได้จากข้อ 1 และจากที่นักวิชาการ รวบรวมสถิติเรื่องร้องเรียนจากทุกหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี) นักวิชาการวิเคราะห์ เสนอทางเลือกและการแก้ไขปัญหาในรูปแบบของ A) นโยบายสาธารณะ B) การแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติที่เหมาะสม มี MOU เป็นเครื่องมือ

จะเกิดกลไกสำคัญที่สุด คือ ? จะเกิดกลไกสำคัญที่สุด คือ ? การก่อเกิดนโยบายสาธารณะด้าน คบส. ใช้กลวิธี “ทำ MOU ระดับจังหวัด” (เน้นเนื้อหา “การมีคณะทำงานด้านการพัฒนาระบบ คบส.ส.ตำบล”

ขอบเขตงาน ใน MOU การตั้งศูนย์พิทักษ์สิทธิ์ประจำตำบล / เทศบาล / อบต. หน้าที่ ไกล่เกลี่ย / แก้ไขปัญหา การพัฒนาศักยภาพ “ผู้บริโภค” หน้าที่ - อบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกทักษะที่จำเป็น - จัดโครงการ “ตาสับปะรด คบส.ส.” - อบรมคณกรรมการ ฯ - การจัดโครงการเฝ้าระวัง

ขอบเขตงาน ใน MOU การพัฒนา / สร้าง / ขยาย “เครือข่าย” คบส.ส. การพัฒนา / สร้าง / ขยาย “เครือข่าย” คบส.ส. หน้าที่ - ยกระดับ อสม.คบส.  สภา อสม.คบส. - จัดตั้งชมรม คบส.ส. - จัดทำสมัชชาผู้บริโภค การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารด้าน คบส.ตำบล