การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Advertisements

การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
กฎหมายมรดก.
ความรู้เรื่องการจับกุม ตาม ป.วิ อาญา
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
การดำเนินการทางวินัย ข้าราชการ
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
วิชาว่าความและ การถามพยาน
โดย ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การกำหนดประเด็นสอบสวน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
งานสารบรรณ สุภิสสา วรรธนาคม กลุ่มบริหารทั่วไป สำนักบริหารกลาง
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
ระเบียบคณะกรรมการวัตถุอันตรายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนหรือให้สืบสวน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ความผิดฐาน ละทิ้งหน้าที่ราชการ.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
การรับฟังพยานหลักฐาน
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
หน่วย แผนกธุรการและกำลังพล
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับลูกจ้างประจำ
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
ทะเบียนราษฎร.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน หมายถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อจะทราบรายละเอียดแห่งความผิด

การสืบสวน สอบสวน การสอบสวน การสืบสวน สอบสวน การสอบสวน หมายถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการทั้งหลายอื่น ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้กระทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหาเพื่อจะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิดและเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ

กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง กรณีที่จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน กรณีกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง หมวด ๖ วินัยและการรักษาวินัย มาตรา ๘๒ - ๙๕

กรณีที่อาจไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อยกเว้นตาม ม. ๙๘ วรรค เจ็ด) ๑. ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ๒. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันเกินกว่า ๑๕ วัน ๓. รับสารภาพเป็นหนังสือ ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง

การแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้ถูกกล่าวหา ๑. ให้ลงลายมือชื่อและวันที่รับทราบคำสั่ง ๒. มอบสำเนาคำสั่ง ๓. ส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ พ้น ๑๕ วัน ถือว่ารับทราบ

การคัดค้านกรรมการสอบสวน - ทำเป็นหนังสือ - แสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย - ยื่นต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ภายใน ๗ วัน

เหตุคัดค้านคณะกรรมการ ๑. รู้เห็นเหตุการณ์ในขณะกระทำความผิด ๒. มีประโยชน์ได้เสียในเรื่องที่สอบสวน ๓. มีสาเหตุโกรธเคืองกับเรื่องที่สอบสวน ๔. เป็นผู้กล่าวหา คู่หมั้น คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องร่วม บิดา มารดา หรือร่วมแต่บิดามารดา เป็นลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียง สามชั้น เป็นญาติเกี่ยวพันทางการแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น ของผู้กล่าวหา ๕. เป็นเจ้าหนี้ ลูกหนี้ ของผู้กล่าวหา ๖. มีเหตุอื่นทำให้การสอบสวนเสียความเป็นธรรม

สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา ๑. คัดค้านกรรมการสอบสวน ๒. มีสิทธิขอทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ ๓. นำพยานหลักฐานมาสืบแก้ข้อกล่าวหา ๔. ขอตรวจเอกสารหรือพยานหลักฐาน ๕. มีสิทธิได้รับการแจ้งข้อกล่าวหา ว่ากระทำผิดกรณีใด ตามมาตราใดและสรุปพยานหลักฐานเท่าที่มี ๖. ยื่นคำชี้แจงเป็นหนังสือภายใน ๑๕ วัน

สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา ๗. ก่อนคณะกรรมการจะเสนอสำนวนการสอบสวน หากมี เหตุอันสมควร ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิยื่นคำชี้แจงหรือให้ถ้อยคำ เพิ่มเติม ๘. ในการสอบสวนมีสิทธิที่จะไม่ถูกขู่เข็ญ หลอกลวง ให้คำมั่น สัญญา จูงใจ หรือกระทำการมิชอบด้วยประการใด ๆ ๖. กรณีถูกสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง มีสิทธินำทนายความ หรือที่ปรึกษาเข้าร่วมฟังการสอบสวนได้

วิธีการสอบสวน ๒. แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แบบ สว. ๒) ๑. ประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาดำเนินการสอบสวน ๒. แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แบบ สว. ๒) ๓. รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวหา ภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ที่ดำเนินการตามข้อ ๒ ๔. แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน (แบบ สว. ๓) ภายใน ๑๕ วันนับแต่ดำเนินการตามข้อ ๓ แล้วเสร็จ

วิธีการสอบสวน (ต่อ) ๖๐ วันนับแต่วันที่ดำเนินการตามข้อ ๔ แล้วเสร็จ ๕. รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง ภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ดำเนินการตามข้อ ๔ แล้วเสร็จ ๖. ประชุมพิจารณาลงมติและทำรายงานเสนอผู้สั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ ดำเนินการตามข้อ ๕ แล้วเสร็จ

การขอขยายเวลา กรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่สามารถดำเนินการสอบสวนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กำหนดในแต่ละขั้นตอนและไม่อาจดำเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ขอขยายเวลาการสอบสวนต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการได้ครั้งละ ไม่เกิน ๖๐ วัน

การขอขยายเวลา วินัยไม่ร้ายแรง ขอขยายได้ครั้งละ ไม่เกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้ครั้งละ ไม่เกิน ๖๐ วัน วินัยร้ายแรง