การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน หมายถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อจะทราบรายละเอียดแห่งความผิด
การสืบสวน สอบสวน การสอบสวน การสืบสวน สอบสวน การสอบสวน หมายถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการทั้งหลายอื่น ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้กระทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหาเพื่อจะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิดและเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ
กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง กรณีที่จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน กรณีกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง กรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง หมวด ๖ วินัยและการรักษาวินัย มาตรา ๘๒ - ๙๕
กรณีที่อาจไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อยกเว้นตาม ม. ๙๘ วรรค เจ็ด) ๑. ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ๒. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันเกินกว่า ๑๕ วัน ๓. รับสารภาพเป็นหนังสือ ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
การแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้ถูกกล่าวหา ๑. ให้ลงลายมือชื่อและวันที่รับทราบคำสั่ง ๒. มอบสำเนาคำสั่ง ๓. ส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ พ้น ๑๕ วัน ถือว่ารับทราบ
การคัดค้านกรรมการสอบสวน - ทำเป็นหนังสือ - แสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย - ยื่นต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ภายใน ๗ วัน
เหตุคัดค้านคณะกรรมการ ๑. รู้เห็นเหตุการณ์ในขณะกระทำความผิด ๒. มีประโยชน์ได้เสียในเรื่องที่สอบสวน ๓. มีสาเหตุโกรธเคืองกับเรื่องที่สอบสวน ๔. เป็นผู้กล่าวหา คู่หมั้น คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องร่วม บิดา มารดา หรือร่วมแต่บิดามารดา เป็นลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียง สามชั้น เป็นญาติเกี่ยวพันทางการแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น ของผู้กล่าวหา ๕. เป็นเจ้าหนี้ ลูกหนี้ ของผู้กล่าวหา ๖. มีเหตุอื่นทำให้การสอบสวนเสียความเป็นธรรม
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา ๑. คัดค้านกรรมการสอบสวน ๒. มีสิทธิขอทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ ๓. นำพยานหลักฐานมาสืบแก้ข้อกล่าวหา ๔. ขอตรวจเอกสารหรือพยานหลักฐาน ๕. มีสิทธิได้รับการแจ้งข้อกล่าวหา ว่ากระทำผิดกรณีใด ตามมาตราใดและสรุปพยานหลักฐานเท่าที่มี ๖. ยื่นคำชี้แจงเป็นหนังสือภายใน ๑๕ วัน
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา ๗. ก่อนคณะกรรมการจะเสนอสำนวนการสอบสวน หากมี เหตุอันสมควร ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิยื่นคำชี้แจงหรือให้ถ้อยคำ เพิ่มเติม ๘. ในการสอบสวนมีสิทธิที่จะไม่ถูกขู่เข็ญ หลอกลวง ให้คำมั่น สัญญา จูงใจ หรือกระทำการมิชอบด้วยประการใด ๆ ๖. กรณีถูกสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง มีสิทธินำทนายความ หรือที่ปรึกษาเข้าร่วมฟังการสอบสวนได้
วิธีการสอบสวน ๒. แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แบบ สว. ๒) ๑. ประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาดำเนินการสอบสวน ๒. แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (แบบ สว. ๒) ๓. รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวหา ภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ที่ดำเนินการตามข้อ ๒ ๔. แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน (แบบ สว. ๓) ภายใน ๑๕ วันนับแต่ดำเนินการตามข้อ ๓ แล้วเสร็จ
วิธีการสอบสวน (ต่อ) ๖๐ วันนับแต่วันที่ดำเนินการตามข้อ ๔ แล้วเสร็จ ๕. รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง ภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ดำเนินการตามข้อ ๔ แล้วเสร็จ ๖. ประชุมพิจารณาลงมติและทำรายงานเสนอผู้สั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ ดำเนินการตามข้อ ๕ แล้วเสร็จ
การขอขยายเวลา กรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่สามารถดำเนินการสอบสวนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กำหนดในแต่ละขั้นตอนและไม่อาจดำเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ขอขยายเวลาการสอบสวนต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการได้ครั้งละ ไม่เกิน ๖๐ วัน
การขอขยายเวลา วินัยไม่ร้ายแรง ขอขยายได้ครั้งละ ไม่เกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้ครั้งละ ไม่เกิน ๖๐ วัน วินัยร้ายแรง