ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
สบู่สมุนไพร.
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
เรื่องถุงมือป้องกันสารเคมี
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
โรคเอสแอลอี.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สีผสมอาหาร Group’s Emblem.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
สารเมลามีน.
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
ตัวอย่างแผนผังสถานที่ผลิตยาแผนโบราณ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
ภาวะไตวาย.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เตาไมโครเวฟ.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อเยื่อชั้นผิวใบของพืชวงศ์ไม้ยาง(Dipterocarpacea) บางชนิดในประเทศไทย.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4214 (พ. ศ
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
วิชา งานสีรถยนต์.
สารปรุงแต่งอาหาร.
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
กำมะถัน (Sulfur).
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ดีบุก (TIN).
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ บอแรกซ์ มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมบอเรต (Na2B4O7.10H2O) ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ ชื่อเรียกกันทั่วไป น้ำประสานทอง เพ่งแซ ผงกรอบ

ใช้ในอุตสาหกรรม กระดาษ ภาชนะเคลือบ เครื่องแก้ว เครื่องสำอาง ลูกเหม็น

คุณสมบัติ ในการทำให้เกิดลักษณะกรอบ หยุ่น จึงทำให้มีผู้ผลิตอาหารบางคน นำบอแรกซ์ไปผสมในอาหารชนิดต่างๆ เช่น ทับทิมกรอบ ลูกชิ้น หมูยอ ไส้กรอก ผลไม้ดอง ฯลฯ เพื่อให้อาหารนั้นมีลักษณะกรอบ น่ารับประทาน

เมื่อผู้บริโภครับประทานอาหาร ที่มีส่วนผสมของบอแรกซ์เข้าไป สะสมในร่างกายจนถึงปริมาณหนึ่ง เกิดอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตลดลง

ผู้ใหญ่ รับเข้าไป 15 กรัม ตายได้ อันตราย เป็นพิษต่อเซลล์ เพราะสามารถรวมตัวกับ สารชีวโมเลกุล โดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรต ไกลโคโปรตีน ไกลโคลิปิด ซึ่งอยู่บนผิวเซลล์ ทั่วไปได้ มักสะสมในเนื้อเยื่อของกรวยไต และทำให้เกิดไตอักเสบได้ เด็ก รับเข้าไป 5 กรัม ผู้ใหญ่ รับเข้าไป 15 กรัม ตายได้

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 151 (พ.ศ.2536) กำหนดให้บอแรกซ์เป็นสารที่ห้ามใช้ในอาหาร พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 กำหนดให้บอแรกซ์เป็นสินค้าควบคุมฉลาก ต้องมีข้อความ “บอแรกซ์อันตรายห้ามใช้ในอาหาร”

จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ ระดับต่ำสุดที่ตรวจได้ 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ชุดทดสอบบอแรกซ์ จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 50 ตัวอย่าง ระดับต่ำสุดที่ตรวจได้ 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

หั่นตัวอย่างเป็นชิ้นเล็ก ๆ วิธีการทดสอบ หั่นตัวอย่างเป็นชิ้นเล็ก ๆ

ตักตัวอย่าง 1 ช้อนใส่ในถ้วยยา

เติมน้ำยาบอแรกซ์ 1 จนชุ่ม กวนให้เข้ากัน

จุ่มกระดาษขมิ้นให้เปียก

วางกระดาษขมิ้นบนแผ่นกระจกหรือจานกระเบื้อง ตากแดดนาน 10 นาที อ่านผล ไม่พบ พบ

น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ 1 มีสภาพเป็นกรด ข้อควรระวัง น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ 1 มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

การเก็บรักษาชุดทดสอบ เก็บที่อุณหภูมิห้อง อายุการใช้งาน 2 ปี