ระบบส่งเสริมการเกษตร โดย นางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 1
ระบบส่งเสริมการเกษตร ระบบส่งเสริมการเกษตร หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการส่งเสริมการเกษตร ทั้งการปฏิบัติงานในพื้นที่และการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2
หลักการของระบบส่งเสริมการเกษตร 1. ใช้ศูนย์บริการฯ (ศบกต.) เป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยมีคณะกรรมการ ศบกต. อาสาสมัครเกษตร กลุ่ม/เครือข่าย ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากการปฏิบัติงาน และเรียนรู้ และทำงานร่วมกันเป็นทีม (Team Learning and Working) 4. นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงาน 3
แนวทางการดำเนินงาน 1. เสริมหนุนให้ ศบกต. สามารถทำงานได้ในการพัฒนาการเกษตรในระดับตำบล 2. สร้างเป้าหมายร่วมในการปฏิบัติงานในทุกระดับ 3. ใช้ความรู้เป็นฐานในการปฏิบัติงานเพื่อให้บุคลากรมีขีดความสามารถพร้อม (Knowledge Worker) 4. ปรับเปลี่ยนบทบาทวัฒนธรรมในการทำงาน เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการ และพัฒนาการเรียนรู้โดยชุมชนเอง 4
ของระบบส่งเสริมการเกษตร องค์ประกอบ ของระบบส่งเสริมการเกษตร ระบบปฏิบัติงาน ในพื้นที่ ระบบสนับสนุน การปฏิบัติงาน 5
6
ระบบปฏิบัติงานในพื้นที่ 7
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสำนักงาน เกษตรอำเภอ เพื่อให้มีระบบที่เชื่อมโยงกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดแผนงาน/โครงการพัฒนาการเกษตร ที่สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร และ เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ 2 3 8
ระบบปฏิบัติงานในพื้นที่ ประกอบด้วยการทำงาน 2 ระดับ คือ ระดับอำเภอ กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ การจัดทำข้อมูลการเกษตร ระดับตำบล การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล การจัดการเรียนรู้/การถ่ายทอดเทคโนโลยี การให้บริการทางการเกษตร การส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย 9 9 9
แผนภูมิระบบปฏิบัติงานในพื้นที่ กลุ่ม/เครือข่าย แผนพัฒนาการเกษตร การเรียนรู้ บริหารจัดการ(ศบกต.) ข้อมูล การบริการ กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน 10 10
ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน (ฉบับปรับปรุง ปี 2553) 11
วัตถุประสงค์ สนับสนุน จนท.ส่งเสริมฯ ทุกระดับให้สามารถ 1 ปฏิบัติงานตามพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานในกรมฯ ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของ จนท. ในพื้นที่ 1 2 12
องค์ประกอบ การเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากร ในการปฏิบัติงาน 1 การเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากร ในการปฏิบัติงาน การสนับสนุนทางวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ การติดตามและประเมินผล 1 2 3 4 5 13
การเสริมสร้างขีดความสามารถ ของบุคลากรฯ เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร สัมมนาเชิงปฏิบัติการตามระบบส่งเสริมการเกษตร ประชุมเพื่อการบริหาร การฝึกอบรมเฉพาะกิจ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง การนิเทศงาน 14
เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร ประกอบด้วย - การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการตามระบบ ส่งเสริมการเกษตร - การประชุม เพื่อการบริหาร 15
เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร 1 เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ สัมมนา เจ้าภาพ การจัดเวที NW ส่วนกลาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี RW เขต ปีละ 3 ครั้ง PW จังหวัด DW อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 16
อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที ผู้บริหารกรมฯ ส่วนกลาง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง สำนัก/กอง/เขต/ศูนย์ฯ หน่วยงาน ทุกเดือน กษจ./หน.ส่วนฯ ระดับเขต เขต ทุก 3 เดือน 17
เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ) 2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ) ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที PM จังหวัด เดือนละ 1 ครั้ง MM เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 4 DM อำเภอ เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 1 WM ทุกสัปดาห์ (1 วัน) 18
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับประเทศ (National Workshop: NW) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง เขต ศูนย์ปฏิบัติการ และจังหวัด ในเรื่องการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร ร่วมทั้งเป็นเวทีในการนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับประเทศ ดำเนินการจัดโดยส่วนกลาง อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 19
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับเขต (Regional Workshop: RW) เพื่อเป็นเวทีสำหรับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติการ ร่วมกันกำหนดแผนการปฏิบัติงาน การติดตามนิเทศงาน และประเมินผลในระดับเขต พร้อมทั้งการสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการจัดโดยสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง 20
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับจังหวัด (Provincial Workshop: PW) เพื่อเป็นเวทีให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของจังหวัดได้ร่วมกันกำหนดแนวทางการดำเนินงาน และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการนำองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน ดำเนินการโดยสำนักงานเกษตรจังหวัด กำหนดจัดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ จังหวัดสามารถเชิญศูนย์ปฏิบัติการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมได้ตามความเหมาะสม 21
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับอำเภอ (District Workshop: DW) เพื่อเป็นเวทีให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยระดับจังหวัดเป็นผู้อำนวยความสะดวกและเข้าร่วมทุกครั้ง กำหนดจัดอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง ครั้งละ 1 วัน ในสัปดาห์ที่ 3 โดยอาจแบ่งสายรวมอำเภอได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ให้อำเภอหมุนเวียนในการเป็นเจ้าภาพ 22
เวทีประชุมเพื่อการบริหาร 1. การประชุมผู้บริหารกรมส่งเสริมการเกษตร 2. การประชุมสำนัก/กอง/เขต/ศูนย์ 3. การประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต 4. การประชุมสำนักงานเกษตรจังหวัดประจำเดือน (Provincial Meeting: PM) 5. การประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน (Monthly Meeting: MM) 6. การประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน (District Monthly Meeting: DM) 7. ประชุมเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอประจำสัปดาห์ (Weekly Meeting: WM) 23
กิจกรรมของระบบส่งเสริมการเกษตร ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ปี 2554 ระดับเขต การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับเขต (RW) จำนวนเขตละ 3 ครั้ง ครั้งละ 3 วัน วันละ 900 บาท /คน ประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต จำนวนเขตละ 6 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน วันละ 130 บาท/คน 24
กิจกรรมของระบบส่งเสริมการเกษตร ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ปี 2554 ระดับจังหวัด สัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับจังหวัด (PW) จำนวนจังหวัดละ 1 ครั้งๆ ละ 1 วันๆละ 100 บาท สัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับอำเภอ (DW) จำนวนจังหวัดละ 6 ครั้ง ๆ ละ 1 วันๆละ 100 บาท 25
แนวทางการจัด RW 1. ผู้จัด : สสข. ทั้ง 6 เขต 1. ผู้จัด : สสข. ทั้ง 6 เขต 2. จำนวนที่จัด 3 ครั้ง ครั้งละ 3 วัน 3. บุคลเป้าหมาย - จนท. จังหวัด 3 กลุ่ม/ฝ่าย จำนวน 3 คน/จังหวัด - จนท. ศูนย์ปฏิบัติการ 1 คน/ศูนย์ - จนท. เขต/ส่วนกลาง 4. ช่วงเวลาการจัด - RW1 : กลาง ธค.53 – มค.54 - RW2 : เมย. – พค.54 - RW3 : สค.54 26
แนวทางการจัด RW 5. เนื้อหาใน RW - RW1 : เน้น การเตรียมการ/การวางแผน 27
ปฏิทินการปฏิบัติงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร 28
ปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 29
การบันทึกแผนและผลการปฏิบัติงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 http://research.doae.go.th http://www.research.doae.go.th/AES 30
ปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 เป็นการบันทึกข้อมูล แผน/รายงานผลการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร บันทึกข้อมูลในระบบ Online ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ กรมส่งเสริมการเกษตร 31
ข้อมูลที่จะต้องบันทึก แผนการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร แผนตามรายกิจกรรม 7 กิจกรรม : PW, MM, PM, DM, DW, WM, นิเทศงาน ปฏิทินการปฏิบัติงาน (Upload File : xxx.pdf) รายงานผลการปฏิบัติงาน 5 กิจกรรม (PW, DW, DM, MM และผลการนิเทศงาน) 32
การเข้าสู่โปรแกรมบันทึกข้อมูล http://www.research.doae.go.th/aes หรือ เข้าระบบที่ website กองวิจัยฯ http://www.research.doae.go.th/ แล้วคลิก “ปฏิทินระบบส่งเสริมฯ” 33
คลิก รายการที่จะดำเนินการ http://www.research.doae.go.th/aes คลิก รายการที่จะดำเนินการ 34
การดำเนินงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 สนง.เกษตรจังหวัดจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการ เกษตร และจัดทำแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งบันทึกแผน/รายงานผลการปฏิบัติงานในโปรแกรม Computer online ที่ web กองวิจัย หรือที่ http://www.research.doae.go.th/aes 35
การดำเนินงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 ใช้การจัดการความรู้ (KM) เป็นเครื่องมือช่วยในการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ใช้การจัดการความรู้ (KM) เป็นเครื่องมือช่วยในการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนางาน โดยยึดประเด็นงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร 36
สวัสดี 37